ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับไชน์-ดัลการ์โน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ชื่อภาษาอื่น|คงไว้ตามต้นฉบับ}}
{{ชื่อภาษาอื่น|คงไว้ตามต้นฉบับ}}
'''Shine-Delgarno sequence''' หรือ '''Shine-Dalgerno box''' เสนอโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย John Shine และLynn Dalgerno เป็นตำแหน่งที่[[ไรโบโซม]]จับกับ [[mRNA]] โดยทั่วไปอยู่ที่ตำแหน่ง 16 นิวคลีโอไทด์ ก่อน[[รหัสพันธุกรรมเริ่มต้น]] AUG Shine-Dalgarno sequence พบเฉพาะใน[[โปรคาริโอต]] ลำดับซ้ำๆกัน 6 นิวคลีโอไทด์ AGGAGG ใน [[E. coli]] เป็น AGGAGGU ลำดับนี้ช่วยให้ไรโบโซมเริ่ม[[การสังเคราะห์โปรตีน]]ได้ โดยการจดจำรหัสพันธุกรรมเริ่มต้น ลำดับคู่สม (CCUCCU) เรียก anti-Shine-Dalgarno sequence อยู่ที่ปลาย 3' ของ 16S [[rRNA]] ในไรโบโซม ใน[[ยูคาริโอต]] ส่วนที่ทำหน้าที่เหมือน Shine-Dalgarno sequence เรียก Kozak sequence
'''Shine-Delgarno sequence''' หรือ '''Shine-Dalgerno box''' เสนอโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย John Shine และLynn Dalgerno เป็นตำแหน่งที่[[ไรโบโซม]]จับกับ [[mRNA]] โดยทั่วไปอยู่ที่ตำแหน่ง 16 นิวคลีโอไทด์ ก่อน[[รหัสพันธุกรรมเริ่มต้น]] AUG Shine-Dalgarno sequence พบเฉพาะใน[[โปรคาริโอต]] ลำดับซ้ำๆกัน 6 นิวคลีโอไทด์ AGGAGG ใน [[E. coli]] เป็น AGGAGGU ลำดับนี้ช่วยให้ไรโบโซมเริ่ม[[การสังเคราะห์โปรตีน]]ได้ โดยการจดจำรหัสพันธุกรรมเริ่มต้น ลำดับคู่สม (CCUCCU) เรียก anti-Shine-Dalgarno sequence อยู่ที่ปลาย 3' ของ 16S [[rRNA]] ในไรโบโซม ใน[[ยูคาริโอต]] ส่วนที่ทำหน้าที่เหมือน Shine-Dalgarno sequence เรียก Kozak sequence


การกลายพันธุ์ใน Shine-Dalgarno sequence ลดการทรานสเลชัน เพราะลดประสิทธิภาพการจับกันระหว่างไรโบโซมกับ mRNA เมื่อ Shine-Dalgarno sequence an และ anti-Shine-Dalgarno sequence จับกัน [[ตัวเริ่มทรานสเลชัน]] (initiation factors) IF2-GTP, IF1, IF3 และ tRNA fMet-tRNA(fmet) จะเริ่มเข้าทำงานร่วมกับไรโบโซม
การกลายพันธุ์ใน Shine-Dalgarno sequence ลดการทรานสเลชัน เพราะลดประสิทธิภาพการจับกันระหว่างไรโบโซมกับ mRNA เมื่อ Shine-Dalgarno sequence an และ anti-Shine-Dalgarno sequence จับกัน [[ตัวเริ่มทรานสเลชัน]] (initiation factors) IF2-GTP, IF1, IF3 และ tRNA fMet-tRNA(fmet) จะเริ่มเข้าทำงานร่วมกับไรโบโซม
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/bv.fcgi?rid=eurekah.section.19320
* http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/bv.fcgi?rid=eurekah.section.19320

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:58, 30 มกราคม 2556

บทความนี้มีชื่อเป็นภาษาอื่น หรือใช้อักษรในภาษาอื่น เนื่องจากคงไว้ตามต้นฉบับ

Shine-Delgarno sequence หรือ Shine-Dalgerno box เสนอโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย John Shine และLynn Dalgerno เป็นตำแหน่งที่ไรโบโซมจับกับ mRNA โดยทั่วไปอยู่ที่ตำแหน่ง 16 นิวคลีโอไทด์ ก่อนรหัสพันธุกรรมเริ่มต้น AUG Shine-Dalgarno sequence พบเฉพาะในโปรคาริโอต ลำดับซ้ำๆกัน 6 นิวคลีโอไทด์ AGGAGG ใน E. coli เป็น AGGAGGU ลำดับนี้ช่วยให้ไรโบโซมเริ่มการสังเคราะห์โปรตีนได้ โดยการจดจำรหัสพันธุกรรมเริ่มต้น ลำดับคู่สม (CCUCCU) เรียก anti-Shine-Dalgarno sequence อยู่ที่ปลาย 3' ของ 16S rRNA ในไรโบโซม ในยูคาริโอต ส่วนที่ทำหน้าที่เหมือน Shine-Dalgarno sequence เรียก Kozak sequence

การกลายพันธุ์ใน Shine-Dalgarno sequence ลดการทรานสเลชัน เพราะลดประสิทธิภาพการจับกันระหว่างไรโบโซมกับ mRNA เมื่อ Shine-Dalgarno sequence an และ anti-Shine-Dalgarno sequence จับกัน ตัวเริ่มทรานสเลชัน (initiation factors) IF2-GTP, IF1, IF3 และ tRNA fMet-tRNA(fmet) จะเริ่มเข้าทำงานร่วมกับไรโบโซม

แหล่งข้อมูลอื่น