ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกสารข้อมูลความปลอดภัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{เว็บย่อ|MSDS}}
{{เว็บย่อ|MSDS}}
[[ไฟล์:Material safety data sheet.JPG|thumb|ตัวอย่าง Material safety data sheet]]
[[ไฟล์:Material safety data sheet.JPG|thumb|ตัวอย่าง Material safety data sheet]]
'''Material safety data sheet''' หรือย่อว่า '''MSDS''' คือ รายละเอียดของสารเคมีอันตราย<ref>ความปลอดภัยในการทำงาน กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน</ref> ตาม[[กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน]]
'''Material safety data sheet''' หรือย่อว่า '''MSDS''' คือ รายละเอียดของสารเคมีอันตราย<ref>ความปลอดภัยในการทำงาน กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน</ref> ตาม[[กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน]]


== รายละเอียดของ MSDS ==
== รายละเอียดของ MSDS ==
'''MSDS''' จะมีลักษณะคล้าย 'ฉลาก' ที่ติดไว้ที่หีบห่อภาชนะบรรจุหรือวัสดุห่อหุ้ม[[สารเคมี]]อันตราย ซึ่งจะบอกให้รู้ถึงอันตรายของสิ่งที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ด้วยป้ายสัญลักษณ์ที่แสดงอันตราย โดยมีการแสดงรายละเอียด ดังนี้
'''MSDS''' จะมีลักษณะคล้าย 'ฉลาก' ที่ติดไว้ที่หีบห่อภาชนะบรรจุหรือวัสดุห่อหุ้ม[[สารเคมี]]อันตราย ซึ่งจะบอกให้รู้ถึงอันตรายของสิ่งที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ด้วยป้ายสัญลักษณ์ที่แสดงอันตราย โดยมีการแสดงรายละเอียด ดังนี้


# [[ชื่อทางเคมี]] หรือ [[ชื่อทางวิทยาศาสตร์]]
# [[ชื่อทางเคมี]] หรือ [[ชื่อทางวิทยาศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:21, 30 มกราคม 2556

ตัวอย่าง Material safety data sheet

Material safety data sheet หรือย่อว่า MSDS คือ รายละเอียดของสารเคมีอันตราย[1] ตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน

รายละเอียดของ MSDS

MSDS จะมีลักษณะคล้าย 'ฉลาก' ที่ติดไว้ที่หีบห่อภาชนะบรรจุหรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย ซึ่งจะบอกให้รู้ถึงอันตรายของสิ่งที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ด้วยป้ายสัญลักษณ์ที่แสดงอันตราย โดยมีการแสดงรายละเอียด ดังนี้

  1. ชื่อทางเคมี หรือ ชื่อทางวิทยาศาสตร์
  2. CAS No. หรือ UN/ID No.
  3. รายละเอียดผู้ผลิต ผู้นำเข้า
  4. การใช้ประโยชน์
  5. ค่ามาตรฐานความเป็นพิษ
  6. คุณสมบัติทางกายภายและเคมี
  7. อันตรายต่อสุขภาพ
  8. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
  9. อัคคีภัย/ระเบิด
  10. การเก็บรักษา/ขนส่ง
  11. การกำจัดกรณีรั่วไหล
  12. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
  13. การปฐมพยาบาล
  14. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
  15. การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานกับสารเคมีอันตรายนั้นๆ ได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย อีกทั้งสามารถรับมือกับเหตุฉุกเฉินใดๆ อันอาจเกิดจากสารเคมีอันตรายนั้นๆ

อ้างอิง

  1. ความปลอดภัยในการทำงาน กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน