ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
[[ไฟล์:Edit-this-page-large-th.png|300px|thumb|กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ]]


เกือบทุกหน้ามีแถบ "'''''แก้ไข'''''" ยกเว้น[[วิกิพีเดีย:นโยบายการล็อก|หน้าที่ถูกล็อก]]ส่วนน้อย ซึ่งเปิดให้คุณแก้ไขหน้าที่คุณกำลังดูอยู่ได้ การแก้ไขเป็นคุณลักษณะพื้นฐานที่สุดของ[[วิกิพีเดีย]] และให้คุณแก้ไขและเพิ่มข้อเท็จจริงในบทความ หากคุณเพิ่มสารสนเทศสู่บทความ โปรด[[วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้|หาแหล่งอ้างอิง]] เพราะ[[วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้|ข้อเท็จจริงที่ไม่มีการอ้างอิงสามารถถูกนำออกได้]] ฉะนั้น พึงชัดเจนและให้แหล่งอ้างอิง
== การแก้ไขวิกิพีเดียขั้นต้น ==
[[ภาพ:Edit-this-page-large-th.png|300px|right|กด "แก้ไข" เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาในบทความ]]
คำสั่งวิกิพื้นฐานที่สำคัญที่สุดคือ [[/กระดาษทด/|การแก้ไขหน้า]] โดยหน้าในวิกิเกือบทั้งหมด (ยกเว้น[[วิกิพีเดีย:นโยบายการล็อก|หน้าที่ถูกล็อก]]) สามารถแก้ไขได้โดยผู้เขียนทุกคน ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ในการสร้างเว็บ ที่รู้จักกันในชื่อ [[วิกิ]] ปุ่มข้อความว่า "แก้ไข" จะแสดงไว้ในส่วนหัวเหมือนดังรูป โดยเมื่อกดเข้าไปแล้ว หน้าแก้ไขจะปรากฏขึ้นมาแทน และแล้วคุณก็จะสามารถทำการเปลี่ยนแปลงหน้าบทความผ่านกล่องข้อความตรงกลางหน้าได้ทันที ไม่ว่าจะล็อกอินหรือไม่ก็ตาม (ลองเขียนเล่นได้ที่หน้า [[/กระดาษทด/]] และกดปุ่มแก้ไขด้านบน) คุณสามารถทดลองใส่ข้อความ หรือใส่สิ่งอะไรก็ได้ที่น่าสนใจหรืออยากเขียนลงไป ซึ่งเมื่อทำการบันทึก ข้อความที่คุณเขียนไปจะแสดงขึ้นทันที (ไม่ได้แก้ไขหน้านี้นะ)


ในการฝึกแก้ไข ไป[[/กระดาษทด/|กระดาษทด]]แล้วคลิกแถบ "แก้ไข" เมื่อคุณคลิกแล้ว หน้าต่างแก้ไขจะเปิดซึ่งมีข้อความในหน้านั้นอยู่ ลองพิมพ์ข้อความที่น่าสนุกและน่าสนใจ หรือเพียงแทนที่คำด้วยคำของคุณเอง แล้วคลิกปุ่ม '''บันทึก''' และคอยดูผลงานของตัวเอง!
== ดูตัวอย่าง ==
คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "{{Mediawiki:Showpreview}}" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณ'''ต้อง'''กดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]] และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง

ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วน[[วิกิพีเดีย:หน้าประวัติ|ประวัติของหน้า]] จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์


== คำอธิบายอย่างย่อ ==
== คำอธิบายอย่างย่อ ==
[[ไฟล์:Edit summary-th.png|center|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]]
[[ไฟล์:Edit summary-th.png|center|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]]
{{clear}}
{{clear}}
การฝึกแก้ไขครั้งแรกของคุณ (ด้านบน) ละสองขั้นตอนที่คุณควรทำหากคุณกำลังแก้ไขบทความหรือหน้าอื่นที่สาธารณะเข้าชมได้ ฉะนั้น คลิกแถบ "แก้ไข" อีกครั้ง พิมพ์ข้อความ จากนั้นทำเพิ่มอีกสองขั้นตอน
ตาม[[วิกิพีเดีย:มารยาทในวิกิพีเดีย|มารยาทในวิกิพีเดีย]]แล้ว ก่อนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" คุณสามารถเขียนลงไปใน [[วิกิพีเดีย:คำอธิบายอย่างย่อ|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]] เพื่อบอกว่าได้แก้ไขส่วนใดไป ซึ่งกล่องนี้จะอยู่ด้านล่างข้างทุกหน้า อยู่เหนือปุ่มบันทึกและปุ่มดูตัวอย่าง การเขียนคำอธิบายอย่างย่อนี้ช่วยบอกให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ เข้าใจว่าเราได้ทำอะไรลงไป ตัวอย่างการเขียนเช่นใส่คำว่า "แก้คำผิด" หรือ "จัดรูปแบบ" หรือ "ใส่ภาพ"


ขั้นแรก ทุกครั้งที่คุณแก้ไขหน้า จะเป็น[[วิกิพีเดีย:มารยาทวิกิพีเดีย|มารยาทอันดี]]ที่จะเพิ่มคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่อง'''[[วิธีใช้:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายอย่างย่อ]]''' ซึ่งคุณจะพบอยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ไม่เป็นไรที่คำอธิบายของคุณอาจค่อนข้างสั้น ตัวอย่างเช่น หากคุณกำลังแก้ไขเรื่องตัวสะกด คุณอาจพิมพ์เพียงว่า "แก้สะกดผิด" เช่นกัน หากการเปลี่ยนแปลงของคุณเป็นการแก้ไขเล็กน้อย เช่น แก้ตัวสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ให้ถูก จะเป็นประโยชน์หากคุณเช็กกล่อง "เป็น[[วิธีใช้:การแก้ไขเล็กน้อย|การแก้ไขเล็กน้อย]]" (กล่องนี้จะมีเฉพาะเมื่อคุณล็อกอิน) สำหรับการแก้ไขในหน้ากระดาษทด คุณอาจลองเขียนคำอธิบายอย่างย่อว่า "ทดสอบ"
นอกจากนี้ถ้าคุณได้แก้ไขเล็กน้อย เช่น การแก้คำผิด หรือการจัดรูปแบบเล็กน้อย คุณอาจจะพิจารณาเลือกเครื่องหมายถูกในช่อง [[วิกิพีเดีย:การแก้ไขเล็กน้อย|การแก้ไขเล็กน้อย]] (คำสั่งนี้จะแสดงขึ้นมาต่อเมื่อคุณได้ทำการล็อกอินเท่านั้น)

== ดูตัวอย่าง ==
คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "{{Mediawiki:Showpreview}}" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณ'''ต้อง'''กดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]] และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง

ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วน[[วิกิพีเดีย:หน้าประวัติ|ประวัติของหน้า]] จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์


{{clear}}
{{clear}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:15, 30 มกราคม 2556

อารัมภบท วิธีการแก้ไข การจัดรูปแบบ ลิงก์ การอ้างอิง
แหล่งที่มา
 หน้าคุย จำไว้ว่า ลงทะเบียน ท้ายสุด  
กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ

เกือบทุกหน้ามีแถบ "แก้ไข" ยกเว้นหน้าที่ถูกล็อกส่วนน้อย ซึ่งเปิดให้คุณแก้ไขหน้าที่คุณกำลังดูอยู่ได้ การแก้ไขเป็นคุณลักษณะพื้นฐานที่สุดของวิกิพีเดีย และให้คุณแก้ไขและเพิ่มข้อเท็จจริงในบทความ หากคุณเพิ่มสารสนเทศสู่บทความ โปรดหาแหล่งอ้างอิง เพราะข้อเท็จจริงที่ไม่มีการอ้างอิงสามารถถูกนำออกได้ ฉะนั้น พึงชัดเจนและให้แหล่งอ้างอิง

ในการฝึกแก้ไข ไปกระดาษทดแล้วคลิกแถบ "แก้ไข" เมื่อคุณคลิกแล้ว หน้าต่างแก้ไขจะเปิดซึ่งมีข้อความในหน้านั้นอยู่ ลองพิมพ์ข้อความที่น่าสนุกและน่าสนใจ หรือเพียงแทนที่คำด้วยคำของคุณเอง แล้วคลิกปุ่ม บันทึก และคอยดูผลงานของตัวเอง!

คำอธิบายอย่างย่อ

กล่องคำอธิบายอย่างย่อ
กล่องคำอธิบายอย่างย่อ

การฝึกแก้ไขครั้งแรกของคุณ (ด้านบน) ละสองขั้นตอนที่คุณควรทำหากคุณกำลังแก้ไขบทความหรือหน้าอื่นที่สาธารณะเข้าชมได้ ฉะนั้น คลิกแถบ "แก้ไข" อีกครั้ง พิมพ์ข้อความ จากนั้นทำเพิ่มอีกสองขั้นตอน

ขั้นแรก ทุกครั้งที่คุณแก้ไขหน้า จะเป็นมารยาทอันดีที่จะเพิ่มคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องคำอธิบายอย่างย่อ ซึ่งคุณจะพบอยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ไม่เป็นไรที่คำอธิบายของคุณอาจค่อนข้างสั้น ตัวอย่างเช่น หากคุณกำลังแก้ไขเรื่องตัวสะกด คุณอาจพิมพ์เพียงว่า "แก้สะกดผิด" เช่นกัน หากการเปลี่ยนแปลงของคุณเป็นการแก้ไขเล็กน้อย เช่น แก้ตัวสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ให้ถูก จะเป็นประโยชน์หากคุณเช็กกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (กล่องนี้จะมีเฉพาะเมื่อคุณล็อกอิน) สำหรับการแก้ไขในหน้ากระดาษทด คุณอาจลองเขียนคำอธิบายอย่างย่อว่า "ทดสอบ"

ดูตัวอย่าง

คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "แสดงตัวอย่าง" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณต้องกดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ กระดาษทด และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม แสดงตัวอย่าง แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง

ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วนประวัติของหน้า จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์

ทดลองเขียนได้ที่ กระดาษทด
ต่อด้วย จัดรูปแบบ