ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาเซมิติก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: kk:Семит тілдері
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
=== จุดกำเนิด ===
=== จุดกำเนิด ===
[[ไฟล์:Targum.jpg|left|thumb|200px|พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาฮีบรู]]
[[ไฟล์:Targum.jpg|left|thumb|200px|พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาฮีบรู]]
กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก โดยเป็นสาขาเดียวที่อยู่ใน[[ทวีปเอเชีย]] ส่วนสาขาอื่นอบู่ใน[[ทวีปแอฟริกา]] จากเหตุผลนี้จึงเชื่อว่าบรรพบุรุษของผู้พูด[[ภาษาเซมิติกดั้งเดิม]]เป็นกลุ่มชนที่ออกจากแอฟริกามาสู่ตะวันออกกลาง อาจจะเป็นผู้มาจาก[[ทะเลทรายสะฮารา]] <ref>[http://www.sciencemag.org/cgi/content/citation/306/5702/1680c The Origins of Afroasiatic – Ehret et al. 306 (5702): 1680c – Science<!-- Bot generated title -->]</ref><ref>{{cite journal| first=Daniel F. |last=McCall |url=http://links.jstor.org/sici?sici=0011-3204%28199802%2939%3A1%3C139%3ATALPAI%3E2.0.CO%3B2-J&size=LARGE |title=The Afroasiatic Language Phylum: African in Origin, or Asian? |journal=Current Anthropology |volume=39 |year=1998 |pages=139–44| issue=1| doi=10.1086/204702}}.</ref> แต่ก็มีทฤษฎีว่าผู้พูดภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกดั้งเดิมอยู่ในตะวันออกกลางและผู้พูดภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มเดียวที่เหลืออยู่
กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก โดยเป็นสาขาเดียวที่อยู่ใน[[ทวีปเอเชีย]] ส่วนสาขาอื่นอบู่ใน[[ทวีปแอฟริกา]] จากเหตุผลนี้จึงเชื่อว่าบรรพบุรุษของผู้พูด[[ภาษาเซมิติกดั้งเดิม]]เป็นกลุ่มชนที่ออกจากแอฟริกามาสู่ตะวันออกกลาง อาจจะเป็นผู้มาจาก[[ทะเลทรายสะฮารา]] <ref>[http://www.sciencemag.org/cgi/content/citation/306/5702/1680c The Origins of Afroasiatic – Ehret et al. 306 (5702): 1680c – Science<!-- Bot generated title -->]</ref><ref>{{cite journal| first=Daniel F. |last=McCall |url=http://links.jstor.org/sici?sici=0011-3204%28199802%2939%3A1%3C139%3ATALPAI%3E2.0.CO%3B2-J&size=LARGE |title=The Afroasiatic Language Phylum: African in Origin, or Asian? |journal=Current Anthropology |volume=39 |year=1998 |pages=139–44| issue=1| doi=10.1086/204702}}.</ref> แต่ก็มีทฤษฎีว่าผู้พูดภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกดั้งเดิมอยู่ในตะวันออกกลางและผู้พูดภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มเดียวที่เหลืออยู่
[[ไฟล์:Ethiopic genesis.jpg|200px|thumb|right|ไบเบิลเขียนด้วย[[ภาษากิเอซ]] (เอธิโอเปีย)]]
[[ไฟล์:Ethiopic genesis.jpg|200px|thumb|right|ไบเบิลเขียนด้วย[[ภาษากิเอซ]] (เอธิโอเปีย)]]
ผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมคาดว่าเป็นผู้ที่มาถึง[[คาบสมุทรอาระเบีย]]เมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นภาษาลูกหลานในกลุ่มเซมิติกได้แพร่กระจายออกไป หลักฐานการเขียนเริ่มพบเมื่อราว 2,957 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อผู้พูด[[ภาษาอัคคาเดีย]]และ[[ภาษาอโมไรต์]]เข้าสู่[[เมโสโปเตเมีย]]และอาจจะเคยอยู่ในสถานที่ เช่น เอบลาใน[[ซีเรีย]]
ผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมคาดว่าเป็นผู้ที่มาถึง[[คาบสมุทรอาระเบีย]]เมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นภาษาลูกหลานในกลุ่มเซมิติกได้แพร่กระจายออกไป หลักฐานการเขียนเริ่มพบเมื่อราว 2,957 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อผู้พูด[[ภาษาอัคคาเดีย]]และ[[ภาษาอโมไรต์]]เข้าสู่[[เมโสโปเตเมีย]]และอาจจะเคยอยู่ในสถานที่ เช่น เอบลาใน[[ซีเรีย]]
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


=== 500 ปีก่อนพุทธศักราช ===
=== 500 ปีก่อนพุทธศักราช ===
มีอักษรที่ใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งอักษรคานาอันไนต์ [[อักษรอราเมอิก]] [[อักษรอาระเบียใต้]]และ[[อักษรกีเอซ]]รุ่นแรกๆ ระหว่างช่วงนี้ มีการใช้[[อักษรยูการิติก]]ที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ ชาวฟินิเชียำ[[ภาษาคานาอันไนต์]]ไปใช้ทั้งเขตอาณานิคมในแถบ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ในขณะที่[[ภาษาฮีบรู]]กลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิว ในสมัย[[จักรวรรดิอัสซีเรีย]] [[ภาษาอราเมอิก]]เป็นภาษากลางในตะวันออกกลางในขณะที่ภาษาอัคคาเดีย ภาษาฮีบรู และอื่นๆกลายเป็นภาษาตายหรือใช้เป็นภาษาเขียนเท่านั้น ในขณะเดียวกันอักษรกีเอซเริ่มใช้บันทึกกลุ่มภาษาเซมิติกใน[[เอธิโอเปีย]]ในช่วงนี้
มีอักษรที่ใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งอักษรคานาอันไนต์ [[อักษรอราเมอิก]] [[อักษรอาระเบียใต้]]และ[[อักษรกีเอซ]]รุ่นแรกๆ ระหว่างช่วงนี้ มีการใช้[[อักษรยูการิติก]]ที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ ชาวฟินิเชียำ[[ภาษาคานาอันไนต์]]ไปใช้ทั้งเขตอาณานิคมในแถบ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ในขณะที่[[ภาษาฮีบรู]]กลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิว ในสมัย[[จักรวรรดิอัสซีเรีย]] [[ภาษาอราเมอิก]]เป็นภาษากลางในตะวันออกกลางในขณะที่ภาษาอัคคาเดีย ภาษาฮีบรู และอื่นๆกลายเป็นภาษาตายหรือใช้เป็นภาษาเขียนเท่านั้น ในขณะเดียวกันอักษรกีเอซเริ่มใช้บันทึกกลุ่มภาษาเซมิติกใน[[เอธิโอเปีย]]ในช่วงนี้


=== พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา ===
=== พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา ===
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
[[ภาษาซีเรียค]]ซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกใช้ใน[[เลอวานต์]]ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของ[[ศาสนาอิสลาม]]
[[ภาษาซีเรียค]]ซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกใช้ใน[[เลอวานต์]]ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของ[[ศาสนาอิสลาม]]


ในยุคของศาสนาอิสลามราวพุทธศตวรรษที่ 12 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาอราเมอิกและแพร่หลายไปถึง[[สเปน]]และ[[เอเชียกลาง]] กลายเป็นภาษาเขียนที่สำคัญในสมัยกาหลิบ และกลายเป็นภาษาสำคัญในตะวันออกกลางและอียิปต์ เมื่อ[[อาณาจักรนูเบีย]]ล่มสลาย ภาษาอาหรับได้แพร่หลายไปยังอียิปต์ภาคใต้จนถึง[[มอริตาเนีย]]
ในยุคของศาสนาอิสลามราวพุทธศตวรรษที่ 12 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาอราเมอิกและแพร่หลายไปถึง[[สเปน]]และ[[เอเชียกลาง]] กลายเป็นภาษาเขียนที่สำคัญในสมัยกาหลิบ และกลายเป็นภาษาสำคัญในตะวันออกกลางและอียิปต์ เมื่อ[[อาณาจักรนูเบีย]]ล่มสลาย ภาษาอาหรับได้แพร่หลายไปยังอียิปต์ภาคใต้จนถึง[[มอริตาเนีย]]


กลุ่มภาษาเซมิติกยังคงมีความหลากหลายในเอธิโอเปียและเอริเทรีย โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาคูชิติกมาก ภาษาสำคัญในบริเวณนี้คือภาษาอัมฮาราและภาษาตริกรินยา จากการแพร่ขยายของเอธิโอเปียในสมัยราชวงศ์โซโลโมนิก ภาษาอัมฮาราได้แพร่หลายไปทั่วเอธิโอเปียและเข้าไปแทนที่ภาษากีเอซที่ปัจจุบันยังเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในบริเวณนี้
กลุ่มภาษาเซมิติกยังคงมีความหลากหลายในเอธิโอเปียและเอริเทรีย โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาคูชิติกมาก ภาษาสำคัญในบริเวณนี้คือภาษาอัมฮาราและภาษาตริกรินยา จากการแพร่ขยายของเอธิโอเปียในสมัยราชวงศ์โซโลโมนิก ภาษาอัมฮาราได้แพร่หลายไปทั่วเอธิโอเปียและเข้าไปแทนที่ภาษากีเอซที่ปัจจุบันยังเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในบริเวณนี้
บรรทัด 49: บรรทัด 49:


=== รากศัพท์พยัญชนะสามตัว ===
=== รากศัพท์พยัญชนะสามตัว ===
กลุ่มภาษาเซมิติกทั้งหมดมีลักษณะพิเศษของรากศัพท์ที่ประกอบด้วยพยัญชนะสามตัว (มีที่มีพยัญชนะ 2 หรือ 4 ตัวด้วย) สำหรับนาม คุณศัพท์ และกริยาซึ่งสร้างศัพท์ได้หลายทาง เช่น โดยแทรกเสียงสระ ซ้ำพยัญชนะ เติมอุปสรรค ปัจจัย หรืออาคม
กลุ่มภาษาเซมิติกทั้งหมดมีลักษณะพิเศษของรากศัพท์ที่ประกอบด้วยพยัญชนะสามตัว (มีที่มีพยัญชนะ 2 หรือ 4 ตัวด้วย) สำหรับนาม คุณศัพท์ และกริยาซึ่งสร้างศัพท์ได้หลายทาง เช่น โดยแทรกเสียงสระ ซ้ำพยัญชนะ เติมอุปสรรค ปัจจัย หรืออาคม


ตัวอย่างเช่น รากศัพท์ k-t-b, (หมายถึงการเขียน) ในภาษาอาหรับ:
ตัวอย่างเช่น รากศัพท์ k-t-b, (หมายถึงการเขียน) ในภาษาอาหรับ:
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
:''ta'''{{Unicode|ḵ}}t'''i'''{{Unicode|ḇ}}''''' תכתיב "prescript" (''m'')
:''ta'''{{Unicode|ḵ}}t'''i'''{{Unicode|ḇ}}''''' תכתיב "prescript" (''m'')
:''me'''{{Unicode|ḵ}}'''u'''tt'''a'''{{Unicode|ḇ}}''''' מכותב "a person on one's mailing list" (''me'''{{Unicode|ḵ}}'''u'''tt'''e'''{{Unicode|ḇ}}'''et'' מכותבת ''f'')
:''me'''{{Unicode|ḵ}}'''u'''tt'''a'''{{Unicode|ḇ}}''''' מכותב "a person on one's mailing list" (''me'''{{Unicode|ḵ}}'''u'''tt'''e'''{{Unicode|ḇ}}'''et'' מכותבת ''f'')
:'''''kt'''u'''bb'''a'' כתובה "ketubah (a Jewish marriage contract)" (''f'') (note: b here, not {{Unicode|ḇ}})
:'''''kt'''u'''bb'''a'' כתובה "ketubah (a Jewish marriage contract)" (''f'') (note: b here, not {{Unicode|ḇ}})


ในภาษามอลตา ซึ่งรากศัพท์พยัญชนะจะเรียกว่า ''mamma'':
ในภาษามอลตา ซึ่งรากศัพท์พยัญชนะจะเรียกว่า ''mamma'':
บรรทัด 203: บรรทัด 203:
**** [[ภาษาฮีบรูมิซนะห์]] ใช้ในการอ่านคัมภีร์[[ทัลมุด]]และงานเขียนแรบไบอื่นๆ อาจเป็นภาษาพูดใน[[ยุคกลาง]]
**** [[ภาษาฮีบรูมิซนะห์]] ใช้ในการอ่านคัมภีร์[[ทัลมุด]]และงานเขียนแรบไบอื่นๆ อาจเป็นภาษาพูดใน[[ยุคกลาง]]
**** [[ภาษาฮีบรูยุคกลาง]] พัฒนามาเป็นภาษาฮีบรูสมัยใหม่
**** [[ภาษาฮีบรูยุคกลาง]] พัฒนามาเป็นภาษาฮีบรูสมัยใหม่
**** [[ภาษามิซราฮี]] ใช้พูดในอิสราเอล เยเมน อิรัก เปอร์โตริโกและนิวยอร์ก
**** [[ภาษามิซราฮี]] ใช้พูดในอิสราเอล เยเมน อิรัก เปอร์โตริโกและนิวยอร์ก
**** [[ภาษาฮีบรูเตยมานี]] ใช้พูดในหมู่ชาวยิวในเยเมน
**** [[ภาษาฮีบรูเตยมานี]] ใช้พูดในหมู่ชาวยิวในเยเมน
**** [[ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี]] การออกเสียงภาษาฮีบรูสมัยใหม่ยึดตามสำเนียงนี้
**** [[ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี]] การออกเสียงภาษาฮีบรูสมัยใหม่ยึดตามสำเนียงนี้
บรรทัด 235: บรรทัด 235:
*** [[ภาษาอาหรับเหนือโบราณ]] - ตายแล้ว
*** [[ภาษาอาหรับเหนือโบราณ]] - ตายแล้ว
*** ภาษาอาหรับมาตรฐาน
*** ภาษาอาหรับมาตรฐาน
**** [[ภาษาฟุซฮา]] เป็นภาษาเขียน
**** [[ภาษาฟุซฮา]] เป็นภาษาเขียน
***** [[ภาษาอาหรับคลาสสิก]] เป็นภาษาที่ใช้ในคัมภีร์อัลกุรอ่านและวรรณคดีของศาสนาอิสลาม
***** [[ภาษาอาหรับคลาสสิก]] เป็นภาษาที่ใช้ในคัมภีร์อัลกุรอ่านและวรรณคดีของศาสนาอิสลาม
***** [[ภาษาอาหรับยุคกลาง]] ใช้เรียกภาษาอาหรับยุคหลังคลาสสิกและก่อนภาษาอาหรับสมัยใหม่ ไม่ใช้เป็นภาษาพูด
***** [[ภาษาอาหรับยุคกลาง]] ใช้เรียกภาษาอาหรับยุคหลังคลาสสิกและก่อนภาษาอาหรับสมัยใหม่ ไม่ใช้เป็นภาษาพูด
บรรทัด 242: บรรทัด 242:
**** สำเนียงของ[[ภาษาอาหรับตะวันออก]]
**** สำเนียงของ[[ภาษาอาหรับตะวันออก]]
**** สำเนียงของภาษาอาหรับคาบสมุทร ได้แก่
**** สำเนียงของภาษาอาหรับคาบสมุทร ได้แก่
***** [[ภาษาอาหรับโดฟารี]] ใช้ในโอมาน เยเมน [[ภาษาอาหรับฮาดรามี]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับฮิญาซี]]ใช้ในซาอุดิอาระเบีย [[ภาษาอาหรับนัจญ์ดี]] ใช้ในซาอุดีอาระเบีย [[ภาษาอาหรับโอมาน]] [[ภาษาอาหรับซานาอานี]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับตาอิซซี-อเดนน์]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับของชาวยิวในเยเมน]]
***** [[ภาษาอาหรับโดฟารี]] ใช้ในโอมาน เยเมน [[ภาษาอาหรับฮาดรามี]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับฮิญาซี]]ใช้ในซาอุดิอาระเบีย [[ภาษาอาหรับนัจญ์ดี]] ใช้ในซาอุดีอาระเบีย [[ภาษาอาหรับโอมาน]] [[ภาษาอาหรับซานาอานี]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับตาอิซซี-อเดนน์]] ใช้ในเยเมน [[ภาษาอาหรับของชาวยิวในเยเมน]]
***** สำเนียงภาษาอาหรับเบดูอิน/เบดาวี ได้แก่ [[ภาษาอาหรับเบดาวี]]ในอียิปต์ตะวันออก ภาษาอาหรับเบดาวีในคาบสมุทร ใช้พูดในคาบสมุทรอาหรับ
***** สำเนียงภาษาอาหรับเบดูอิน/เบดาวี ได้แก่ [[ภาษาอาหรับเบดาวี]]ในอียิปต์ตะวันออก ภาษาอาหรับเบดาวีในคาบสมุทร ใช้พูดในคาบสมุทรอาหรับ
***** สำเนียงในเอเชียกลาง ได้แก่ [[ภาษาอาหรับเอเชียกลาง]] [[ภาษาอาหรับคูเซสถาน]] [[ภาษาอาหรับซิรวาน]] (ตายแล้ว)
***** สำเนียงในเอเชียกลาง ได้แก่ [[ภาษาอาหรับเอเชียกลาง]] [[ภาษาอาหรับคูเซสถาน]] [[ภาษาอาหรับซิรวาน]] (ตายแล้ว)
บรรทัด 253: บรรทัด 253:
****** ภาษาที่ใช้พูดในบริเวณเลอวานต์ใต้ คือ จอร์แดน ปาเลสไตน์ เวสต์แบงก์ และอิสราเอล ได้แก่ [[ภาษาอาหรับปาเลสไตน์]]
****** ภาษาที่ใช้พูดในบริเวณเลอวานต์ใต้ คือ จอร์แดน ปาเลสไตน์ เวสต์แบงก์ และอิสราเอล ได้แก่ [[ภาษาอาหรับปาเลสไตน์]]
***** [[ภาษาอาหรับอิรัก]] ใช้พูดในอิรัก ได้แก่
***** [[ภาษาอาหรับอิรัก]] ใช้พูดในอิรัก ได้แก่
****** [[ภาษาอาหรับอิรักของชาวยิว]]
****** [[ภาษาอาหรับอิรักของชาวยิว]]
***** [[ภาษาอาหรับซูดาน]]
***** [[ภาษาอาหรับซูดาน]]
**** สำเนียงของ[[ภาษาอาหรับมักเรบ]]
**** สำเนียงของ[[ภาษาอาหรับมักเรบ]]
บรรทัด 270: บรรทัด 270:
* [[กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันตก]]
* [[กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันตก]]
** [[กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ]] เป็นภาษาที่ตายแล้วทั้งหมด เคยเชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่และกลุ่มภาษาเซมิติกใน[[เอธิโอเปีย]]ได้แก่ ภาษาซาบาเอียน ภาษาไมนวน ภาษากวาตาบาอิก ภาษาฮาดราเมาติก
** [[กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ]] เป็นภาษาที่ตายแล้วทั้งหมด เคยเชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่และกลุ่มภาษาเซมิติกใน[[เอธิโอเปีย]]ได้แก่ ภาษาซาบาเอียน ภาษาไมนวน ภาษากวาตาบาอิก ภาษาฮาดราเมาติก
** [[กลุ่มภาษาเอธิโอเปีย]]
** [[กลุ่มภาษาเอธิโอเปีย]]
*** [[กลุ่มภาษาเอธิโอเปียเหนือ]] ได้แก่
*** [[กลุ่มภาษาเอธิโอเปียเหนือ]] ได้แก่
**** [[ภาษากีเอซ]] เป็นภาษาตาย ใช้เป็นภาษาทางศาสนาของ[[ศาสนาคริสต์]][[นิกายออร์ธอดอกซ์เอธิโอเปีย]]และ[[นิกายออร์ธอดอกซ์เอริเทรีย]]
**** [[ภาษากีเอซ]] เป็นภาษาตาย ใช้เป็นภาษาทางศาสนาของ[[ศาสนาคริสต์]][[นิกายออร์ธอดอกซ์เอธิโอเปีย]]และ[[นิกายออร์ธอดอกซ์เอริเทรีย]]
**** [[ภาษาทีกรินยา]] ภาษาประจำชาติของเอริเทรีย
**** [[ภาษาทีกรินยา]] ภาษาประจำชาติของเอริเทรีย
**** [[ภาษาติเกร]]
**** [[ภาษาติเกร]]
**** [[ภาษาดะห์ลิก]] เพิ่งพบใหม่
**** [[ภาษาดะห์ลิก]] เพิ่งพบใหม่
บรรทัด 281: บรรทัด 281:
***** กลุ่มภาษาอาราริ-กูเรกตะวันออก ได้แก่ [[ภาษาอาราริ]] กลุ่มภาษากูเรกตะวันออก ([[ภาษาเซลติ]] [[ภาษาซาว]] [[ภาษาอุลบาเร]] [[ภาษาโวลาเน]] [[ภาษาอินเนกอร์]])
***** กลุ่มภาษาอาราริ-กูเรกตะวันออก ได้แก่ [[ภาษาอาราริ]] กลุ่มภาษากูเรกตะวันออก ([[ภาษาเซลติ]] [[ภาษาซาว]] [[ภาษาอุลบาเร]] [[ภาษาโวลาเน]] [[ภาษาอินเนกอร์]])
***** กลุ่มนอก
***** กลุ่มนอก
****** กลุ่มเหนือ ได้แก่ [[ภาษากาฟัต]] (ตายแล้ว) [[ภาษาโซดโด]] [[ภาษากอกกอต]]
****** กลุ่มเหนือ ได้แก่ [[ภาษากาฟัต]] (ตายแล้ว) [[ภาษาโซดโด]] [[ภาษากอกกอต]]
****** กลุ่มของ[[ภาษาเมสเมส]] [[ภาษามูเฮอร์]] กลุ่มภาษากูเรกตะวันตก ([[ภาษามัสกัน]]) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกตอนกลาง ([[ภาษาเอซา]] [[ภาษาซาฮา]] [[ภาษากูรา]] [[ภาษากูเมอร์]]) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกรอบนอก ([[ภาษาเวเยโต]] [[ภาษาเอนเนมอร์]] [[ภาษาเอนเดเกน]])
****** กลุ่มของ[[ภาษาเมสเมส]] [[ภาษามูเฮอร์]] กลุ่มภาษากูเรกตะวันตก ([[ภาษามัสกัน]]) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกตอนกลาง ([[ภาษาเอซา]] [[ภาษาซาฮา]] [[ภาษากูรา]] [[ภาษากูเมอร์]]) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกรอบนอก ([[ภาษาเวเยโต]] [[ภาษาเอนเนมอร์]] [[ภาษาเอนเดเกน]])
* [[กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันออก]] ภาษาเหล่านี้ใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยใน[[คาบสมุทรอาระเบีย]]ใน[[เยเมน]]และ[[โอมาน]] ได้แก่ [[ภาษาบาทารี]] [[ภาษาฮาร์ซูซี]] [[ภาษาออบยอต]] [[ภาษาจิบบาลี]] [[ภาษาเมห์รี]] [[ภาษาโซโกตรี]]
* [[กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันออก]] ภาษาเหล่านี้ใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยใน[[คาบสมุทรอาระเบีย]]ใน[[เยเมน]]และ[[โอมาน]] ได้แก่ [[ภาษาบาทารี]] [[ภาษาฮาร์ซูซี]] [[ภาษาออบยอต]] [[ภาษาจิบบาลี]] [[ภาษาเมห์รี]] [[ภาษาโซโกตรี]]
บรรทัด 293: บรรทัด 293:
* Robert Hetzron (ed.) ''The Semitic Languages''. Routledge: London 1997. ISBN 0-415-05767-1. (For family tree, see p.&nbsp;7).
* Robert Hetzron (ed.) ''The Semitic Languages''. Routledge: London 1997. ISBN 0-415-05767-1. (For family tree, see p.&nbsp;7).
* Edward Lipinski. ''Semitic Languages: Outlines of a Comparative Grammar''. 2nd ed., Orientalia Lovanensia Analecta: Leuven 2001. ISBN 90-429-0815-7
* Edward Lipinski. ''Semitic Languages: Outlines of a Comparative Grammar''. 2nd ed., Orientalia Lovanensia Analecta: Leuven 2001. ISBN 90-429-0815-7
* Sabatino Moscati. ''An introduction to the comparative grammar of the Semitic languages: phonology and morphology''. Harrassowitz: Wiesbaden 1969.
* Sabatino Moscati. ''An introduction to the comparative grammar of the Semitic languages: phonology and morphology''. Harrassowitz: Wiesbaden 1969.
* Edward Ullendorff, ''The Semitic languages of Ethiopia: a comparative phonology''. London, Taylor's (Foreign) Press 1955.
* Edward Ullendorff, ''The Semitic languages of Ethiopia: a comparative phonology''. London, Taylor's (Foreign) Press 1955.
* William Wright & William Robertson Smith. ''Lectures on the comparative grammar of the Semitic languages''. Cambridge University Press 1890. [2002 edition: ISBN 1-931956-12-X]
* William Wright & William Robertson Smith. ''Lectures on the comparative grammar of the Semitic languages''. Cambridge University Press 1890. [2002 edition: ISBN 1-931956-12-X]
บรรทัด 304: บรรทัด 304:
* [http://www.usatoday.com/tech/science/discoveries/2007-01-23-snake-spell_x.htm Ancient snake spell in Egyptian pyramid may be oldest Semitic inscription]
* [http://www.usatoday.com/tech/science/discoveries/2007-01-23-snake-spell_x.htm Ancient snake spell in Egyptian pyramid may be oldest Semitic inscription]


[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก| ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก|กลุ่มภาษาเซมิติก]]


{{Link GA|de}}
{{Link GA|de}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:34, 30 มกราคม 2556

จดหมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย

กลุ่มภาษาเซมิติก (อังกฤษ: Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเวฒิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตริกรินยา (6.7 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน)

กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล

ประวัติ

จุดกำเนิด

พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาฮีบรู

กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก โดยเป็นสาขาเดียวที่อยู่ในทวีปเอเชีย ส่วนสาขาอื่นอบู่ในทวีปแอฟริกา จากเหตุผลนี้จึงเชื่อว่าบรรพบุรุษของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมเป็นกลุ่มชนที่ออกจากแอฟริกามาสู่ตะวันออกกลาง อาจจะเป็นผู้มาจากทะเลทรายสะฮารา [1][2] แต่ก็มีทฤษฎีว่าผู้พูดภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกดั้งเดิมอยู่ในตะวันออกกลางและผู้พูดภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มเดียวที่เหลืออยู่

ไบเบิลเขียนด้วยภาษากิเอซ (เอธิโอเปีย)

ผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมคาดว่าเป็นผู้ที่มาถึงคาบสมุทรอาระเบียเมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นภาษาลูกหลานในกลุ่มเซมิติกได้แพร่กระจายออกไป หลักฐานการเขียนเริ่มพบเมื่อราว 2,957 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อผู้พูดภาษาอัคคาเดียและภาษาอโมไรต์เข้าสู่เมโสโปเตเมียและอาจจะเคยอยู่ในสถานที่ เช่น เอบลาในซีเรีย

1,500 ปีก่อนพุทธศักราช

เมื่อราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกเริ่มแพร่หลายในเมโสโปเตเมีย ในขณะที่กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกใช้พูดตั้งแต่บริเวณจากซีเรียถึงเยเมน ภาษาอาระเบียใต้อาจจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเซมิติกใต้แต่หลักฐานมีน้อย ภาษาอัคคาเดียกลายเป็นภาษาเขียนสำคัญในดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์โดยใช้อักษรรูปลิ่มที่พัฒนามาจากอักษรที่ใช้เขียนภาษาสุเมเรีย กลุ่มชนที่พูดภาษาเอ็บลาไอต์หายไป โดยมีกลุ่มชนที่พูดภาษาอโมไรต์ขึ้นมาแทน

หลักฐานในช่วงนี้มิไม่มากนัก ที่พอมีบ้างคือตัวอักษร อักษรคานาอันไนต์เป็นอักษรชนิดดแรกของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกที่ใช้เมื่อราว 957 ปีก่อนพุทธศักราช และอักษรยูการิติกที่ใช้ในทางเหนือของซีเรียในอีก 200 ปีต่อมา ส่วนภาษาอัคคาเดียพัฒนาต่อมาเป็นสำเนียงบาบิโลเนียและอัสซีเรีย

เอกสารเขียนด้วยภาษาซีเรียค

500 ปีก่อนพุทธศักราช

มีอักษรที่ใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งอักษรคานาอันไนต์ อักษรอราเมอิก อักษรอาระเบียใต้และอักษรกีเอซรุ่นแรกๆ ระหว่างช่วงนี้ มีการใช้อักษรยูการิติกที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ ชาวฟินิเชียำภาษาคานาอันไนต์ไปใช้ทั้งเขตอาณานิคมในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิว ในสมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย ภาษาอราเมอิกเป็นภาษากลางในตะวันออกกลางในขณะที่ภาษาอัคคาเดีย ภาษาฮีบรู และอื่นๆกลายเป็นภาษาตายหรือใช้เป็นภาษาเขียนเท่านั้น ในขณะเดียวกันอักษรกีเอซเริ่มใช้บันทึกกลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียในช่วงนี้

พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา

คัมภีร์อัลกุรอ่านภาษาอาหรับอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17

ภาษาซีเรียคซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกใช้ในเลอวานต์ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของศาสนาอิสลาม

ในยุคของศาสนาอิสลามราวพุทธศตวรรษที่ 12 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาอราเมอิกและแพร่หลายไปถึงสเปนและเอเชียกลาง กลายเป็นภาษาเขียนที่สำคัญในสมัยกาหลิบ และกลายเป็นภาษาสำคัญในตะวันออกกลางและอียิปต์ เมื่ออาณาจักรนูเบียล่มสลาย ภาษาอาหรับได้แพร่หลายไปยังอียิปต์ภาคใต้จนถึงมอริตาเนีย

กลุ่มภาษาเซมิติกยังคงมีความหลากหลายในเอธิโอเปียและเอริเทรีย โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาคูชิติกมาก ภาษาสำคัญในบริเวณนี้คือภาษาอัมฮาราและภาษาตริกรินยา จากการแพร่ขยายของเอธิโอเปียในสมัยราชวงศ์โซโลโมนิก ภาษาอัมฮาราได้แพร่หลายไปทั่วเอธิโอเปียและเข้าไปแทนที่ภาษากีเอซที่ปัจจุบันยังเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในบริเวณนี้

สถานะปัจจุบัน

ภาษาอาหรับมีผู้ใช้เป็นภาษาแม่เป็นส่วนใหญ่ตั้งแต่มอริตาเนียไปถึงโอมานและจากอิรักไปถึงซูดาน และยังใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวมุสลิมที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ด้วย ภาษาอาหรับที่เป็นภาษาพูดมีหลากหลายสำเนียงแต่ที่เป็นภาษาเขียนมีแบบเดียว ภาษามอลตาซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอาหรับสำเนียงแอฟริกาเหนือเป็นภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรโรมัน นอกจากภาษาอาหรับที่เป็นภาษาหลักในตะวันออกกลางแล้ว ยังพบกลุ่มภาษาเซมิติกอื่นๆอีก ภาษาฮีบรูเป็นภาษาที่ตายไปเป็นเวลานานและใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิวเท่านั้น กลายมาเป็นภาษาพูดอีกครั้งในพุทธศตวรรษที่ 24 โดยขบวนการไซออนนิสต์เป็นผู้ฟื้นฟูภาษานี้ขึ้นมาใหม่และกลายเป็นภาษาหลักของประเทศอิสราเอล

กลุ่มชนชาติส่วนน้อยขนาดเล็กหลายกลุ่มเช่นชาวคริสต์อัสซีเรียยังคงใช้สำเนียงของภาษาอราเมอิกโดยเฉพาะภาษาอราเมอิกใหม่ที่มาจากภาษาซีเรียค ในเขตภูเขาของอิรักภาคเหนือ ตุรกีตะวันออก และซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่ภาษาซีเรียคที่เป็นลูกหลานของภาษาอราเมอิกโบราณใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรียและอิรัก

ในเยเมนและโอมานซึ่งอยู่ทางใต้ของคาบสมุทรอาระเบียยังมีชนเผ่าพูดภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่เช่นภาษามาห์รีและภาษาโซโกตรีซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนั้นอย่างชัดเจน และอาจจะมาจากภาษาที่เขียนในจารึกอักษรอาระเบียใต้หรือลูกหลานของภาษาเหล่านั้น

ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย มีผู้พูดกลุ่มภาษาเซมิติกจำนวนหนึ่งคือภาษาอัมฮาราและภาษาตริกรินยาในเอธิโอเปีย และภาษาติเกรและภาษาตริกรินยาในเอริเทรีย ทั้งภาษาอัมฮาราและภาษาตริกรินยาเป็นภาษาราชการของเอธิโอเปียและเอริเทรีย ในขณะที่ภาษาติเกรมีผู้พูดในเอริเทรียเหนือและดินแดนต่ำตอนกลางรวมถึงภาคตะวันออกของซูดาน มีผู้พูดมากกว่า 1 ล้านคน มีผู้พูดภาษากูเรกในเขตภูเขาทางภาคใต้ตอนกลางของเอธิโอเปีย ภาษากีเอซยังคงเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย

ไวยากรณ์

กลุ่มภาษาเซมิติกมีไวยากรณ์ร่วมกันหลายอย่าง แม้จะมีส่วนที่ผันแปรกันไปบ้าง แม้ในภาษาเดียวกันเอง เช่น ภาษาอาหรับในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11 กับภาษาอาหรับในปัจจุบัน

การเรียงคำ

การเรียงลำดับคำในภาษาเซมิติกดั้งเดิมเป็นกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์ ในภาษาอาหรับคลาสสิกและสมัยใหม่จะใช้การเรียงตำแบบนี้มาก นอกจากนั้นยังพบการเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ดังที่พบในภาษาฮีบรูและภาษามอลตา กลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียสมัยใหม่เรียงประโยคแบบ ประธาน-กรรม-กริยา เจ้าของ-สิ่งของ และคุณศัพท์-นาม ซึ่งอาจจะมาจากอิทธิพลของกลุ่มภาษาคูชิติก กลุ่มภาษาเซมิติกที่เก่าที่สุด เช่น ภาษากีเอซ เป็นแบบกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์

การกของนามและคุณศัพท์

ระบบการกสามแบบของภาษาเซมิติกดั้งเดิม (ประธาน กรรมตรงและเจ้าของ) โดยใช้การลงท้ายการกที่ต่างไป ยังคงมีอยู่ในภาษาอาหรับในอัลกุรอ่าน ภาษาอัคคาเดีย และภาษายูการิติก ลักษระนี้หายไปในภาษาเซมิติกสมัยใหม่ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่คงมีการลงท้ายการกเฉพาะในการเขียนและการออกอากาศ การลงท้ายการกด้วย -n ยังคงไว้ในภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย นามและคุณศัพท์ในกลุ่มภาษาเซมิติกมีการกำหนดเป็นสถานะ สถานะชี้เฉพาะกำหนดโดย nunation

จำนวนของนามและคุณศัพท์

กลุ่มภาษาเซมิติกส่วนใหญ่มี 3 จำนวนคือเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ ทวิพจน์ยังใช้อยู่ในภาษาอาหรับบางสำเนียงเช่นชื่อประเทศบาห์เรน (bahr "ทะเล" + -ayn "สอง") และในภาษาฮีบรู เช่น šana หมายถึง 1 ปี šnatayim หมายถึง 2 ปี และ šanim หมายถึงหลายปี และในภาษามอลตา sena หมายถึง 1 ปี sentejn หมายถึง 2 ปี และ snin หมายถึงหลายปี การทำให้เป็นพหูพจน์โดยการแทรกเสียงสระลงไป เช่น sadd เขื่อน 1 แห่ง sudūd เขื่อนหลายแห่ง พบในภาษาอาหรับและภาษาเอธิโอเปีย รวมทั้งภาษามอลตา จึงน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของภาษาเซมิติกดั้งเดิม

มาลาและกาล

ระบบมาลาของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและตะวันออกต่างกันชัดเจน ภาษาอัคคาเดียรักษาลักษณะซึ่งพบโดยทั่วไปในกลุ่มภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก ภาษาเซมิติกตะวันตกดั้งเดิมมี 2 มาลา คือสมบูรณ์สำหรับการกระทำที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ใช้กับการกระทำที่เกิดไม่สมบูรณ์ ในกรณีพิเศษของภาษาอราเมอิกใหม่มีการรวมคำกริยาซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาอิหร่าน

รากศัพท์พยัญชนะสามตัว

กลุ่มภาษาเซมิติกทั้งหมดมีลักษณะพิเศษของรากศัพท์ที่ประกอบด้วยพยัญชนะสามตัว (มีที่มีพยัญชนะ 2 หรือ 4 ตัวด้วย) สำหรับนาม คุณศัพท์ และกริยาซึ่งสร้างศัพท์ได้หลายทาง เช่น โดยแทรกเสียงสระ ซ้ำพยัญชนะ เติมอุปสรรค ปัจจัย หรืออาคม

ตัวอย่างเช่น รากศัพท์ k-t-b, (หมายถึงการเขียน) ในภาษาอาหรับ:

kataba كتب "he wrote" (masculine)
katabat كتبت "she wrote" (feminine)
kutiba كتب "it was written" (masculine)
kutibat كتبت "it was written" (feminine)
kitāb- كتاب "book" (the hyphen shows end of stem before various case endings)
kutub- كتب "books" (plural)
kutayyib- كتيب "booklet" (diminutive)
kitābat- كتابة "writing"
kātib- كاتب "writer" (masculine)
kātibah- كاتبة "writer" (feminine)
kātibūn(a) كاتبون "writers" (masculine)
kātibāt- كاتبات "writers" (feminine)
kuttāb- كتاب "writers" (broken plural)
katabat- كتبة "writers" (broken plural)
maktab- مكتب "desk" or "office"
maktabat- مكتبة "library" or "bookshop"
maktūb- مكتوب "written" (participle) or "postal letter" (noun)

และรากศัพท์เดียวกันในภาษาฮีบรู (k-t-):

katati כתבתי "I wrote"
katata כתבת "you (m) wrote"
kata כתב "he wrote" or "reporter" (m)
katteet כתבת "reporter" (f)
kattaa כתבה "article" (plural katavot כתבות)
mita מכתב "postal letter" (plural mitaim מכתבים)
mitaa מכתבה "writing desk" (plural mitaot מכתבות)
ktoet כתובת "address" (plural ktoot כתובות)
kta כתב "handwriting"
katu כתוב "written" (f ktua כתובה)
hiti הכתיב "he dictated" (f hitia הכתיבה)
hitkatte התכתב "he corresponded (f hitkata התכתבה)
nita נכתב "it was written" (m)
nitea נכתבה "it was written" (f)
kti כתיב "spelling" (m)
tati תכתיב "prescript" (m)
meutta מכותב "a person on one's mailing list" (meutteet מכותבת f)
ktubba כתובה "ketubah (a Jewish marriage contract)" (f) (note: b here, not )

ในภาษามอลตา ซึ่งรากศัพท์พยัญชนะจะเรียกว่า mamma:

jiena ktibt "I wrote"
inti ktibt "you wrote" (m or f)
huwa kiteb "he wrote"
hija kitbet "she wrote"
aħna ktibna "we wrote"
intkom ktibtu "you (pl) wrote"
huma kitbu "they wrote"
huwa miktub "it is written"
kittieb "writer"
kittieba "writers"
kitba "writing"
ktib "writing"
ktieb "book"
kotba "books"
ktejjeb "booklet"


ในภาษาตริกรินยาและภาษาอัมฮารา รากศัพท์นี้ปรากฏเฉพาะคำนาม kitab หมายถึง amulet และกริยา to vaccinate ภาษาที่เป็นลูกหลานในเอธิโอเปียมีรากศัพท์ที่ต่างไปสำหรับการเขียน คำกริยาในภาษาในตระกูลแอฟโฟรเอเชียติกอื่นๆ ที่ไม่ใช่กลุ่มภาษาเซมิติกมีลักษณะเดียวกันนี้ แต่มักเป็นพยัญชนะ 2 ตัวมากกว่า

คำศัพท์ทั่วไป

เพราะกลุ่มภาษาเซมิติกมีจุดกำเนิดร่วมกัน จึงมักมีศัพท์และรากศัพท์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น

English Proto-Semitic ภาษาอัคคาเดีย ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู ภาษากีเอซ ภาษาเมห์รี
พ่อ *ʼab- ab- ʼab- ʼab-ā ʼāḇ ʼab ḥa-yb
หัวใจ *lib(a)b- libb- lubb- lebb-ā lēḇ(āḇ) libb ḥa-wbēb
บ้าน bayt- bītu, bētu bayt- beyt-ā báyiṯ, bêṯ bet beyt, bêt
peace *šalām- šalām- salām- shlām-ā šālôm salām səlōm
tongue *lišān-/*lašān- lišān- lisān- leššān-ā lāšôn lissān əwšēn
น้ำ *may-/*māy- mû (root *mā-/*māy-) māʼ-/māy mayy-ā máyim māy ḥə-mō

บางครั้ง รากศัพท์มีความหมายต่างไปในภาษาหนึ่งเมื่อเทียบกับกลุ่มภาษาเซมิติกอื่นๆ ตัวอย่างเช่นรากศัพท์ b-y-ḍ ในภาษาอาหรับหมายถึงขาวและไข่ ในภาษามอลตา bajda หมายถึงขาวและไข่เช่นเดียวกัน แต่ในภาษาฮีบรูหมายถึงขาวเท่านั้น รากศัพท์ l-b-n ในภาษาอาหรับหมายถึงนม แต่ภาษาฮีบรูหมายถึงสีขาว รากศัพท์ l-ḥ-m ภาษาอาหรับหมายถึงเนื้อ แต่หมายถึงขนมปังในภาษาฮีบรู และวัวในกลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย ความหมายดั้งเดิมของรากศัพท์นี้อาจหมายถึงอาหาร คำว่า medina (ราก: m-d-n) ภาษาอาหรับหมายถึงเมือง แต่ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่หมายถึงรัฐ ในบางครั้งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรากศัพท์ เช่น คำว่า ความรู้ ในภาษาฮีบรูใช้รากศัพท์ y-d-ʿ แต่ในภาษาอาหรับใช้ ʿ-r-f และ ʿ-l-m กลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย ใช้ ʿ-w-q และ f-l-ṭ


การจัดจำแนก

การจัดจำแนกต่อไปนี้เป็นไปตามวิธีของ Robert Hetzron เมื่อ พ.ศ. 2519 และมีการปรับปรุงโดย John Huehnergard และ Rodgers ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดในขณะนี้ อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการจัดจำแนกอยู่ เช่น อาจจัดภาษาอาหรับอยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางส่วนแยกกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ออกเป็นสาขาที่สามร่วมกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก มากกว่าจะตั้งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ นอกจากนั้นยังไม่มีเส้นแบ่งที่แน่นอนระหว่างภาษาเอกเทศกับสำเนียง ดังที่พบในภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิกและภาษากูเรก

การจัดกลุ่มภายในกลุ่มภาษาเซมิติกก่อน พ.ศ. 2513 จัดให้ภาษาอาหรับอยู่ในกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ และยังไม่มีการค้นพบภาษาเอ็บลาไอต์ในช่วงนั้น

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก

ในกรณีของภาษาอาหรับสำเนียงของชาวยิวที่มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก จะจัดรวมไว้ในภาษาอาหรับคลาสสิกที่เขียนด้วยอักษรฮีบรู โดยใช้ศัพท์ว่าภาษาอาหรับของชาวยิว

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

ภาษาเมห์รีมีบรรพบุรุษใกล้เคียงกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก มากกว่ากลุ่มภาษาเซมิติกใต้ ทุกวันนี้ ภาษาเมห์รีถูกจัดให้อยู่ระหว่างกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันออก หรือเป็นกลุ่มอิสระ

อ้างอิง

  1. The Origins of Afroasiatic – Ehret et al. 306 (5702): 1680c – Science
  2. McCall, Daniel F. (1998). "The Afroasiatic Language Phylum: African in Origin, or Asian?". Current Anthropology. 39 (1): 139–44. doi:10.1086/204702..
  • Patrick R. Bennett. Comparative Semitic Linguistics: A Manual. Eisenbrauns 1998. ISBN 1-57506-021-3.
  • Gotthelf Bergsträsser, Introduction to the Semitic Languages: Text Specimens and Grammatical Sketches. Translated by Peter T. Daniels. Winona Lake, Ind. : Eisenbrauns 1995. ISBN 0-931464-10-2.
  • Giovanni Garbini. Le lingue semitiche: studi di storia linguistica. Istituto Orientale: Napoli 1984.
  • Giovanni Garbini & Olivier Durand. Introduzione alle lingue semitiche. Paideia: Brescia 1995.
  • Robert Hetzron (ed.) The Semitic Languages. Routledge: London 1997. ISBN 0-415-05767-1. (For family tree, see p. 7).
  • Edward Lipinski. Semitic Languages: Outlines of a Comparative Grammar. 2nd ed., Orientalia Lovanensia Analecta: Leuven 2001. ISBN 90-429-0815-7
  • Sabatino Moscati. An introduction to the comparative grammar of the Semitic languages: phonology and morphology. Harrassowitz: Wiesbaden 1969.
  • Edward Ullendorff, The Semitic languages of Ethiopia: a comparative phonology. London, Taylor's (Foreign) Press 1955.
  • William Wright & William Robertson Smith. Lectures on the comparative grammar of the Semitic languages. Cambridge University Press 1890. [2002 edition: ISBN 1-931956-12-X]
  • Arafa Hussein Mustafa. "Analytical study of phrases and sentences in epic texts of Ugarit." (German title: Untersuchungen zu Satztypen in den epischen Texten von Ugarit). PhD-Thesis. Martin-Luther-University Halle-Wittenberg, Germany: 1974.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link GA