ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิหารเคอนิชส์แบร์ค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: Automated text replacement (-\{\{Coord(.*?):(.*?)\|(.*?):(.*?)\}\} +{{Coord\1:\2_\3:\4}})
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
| หมายเหตุ =
| หมายเหตุ =
}}
}}
'''มหาวิหารเคอนิกสแบร์ก''' ({{Lang-ru|Кафедральный собор Кёнигсберга}}, {{Lang-de|Königsberger Dom}}, {{lang-en|Königsberg Cathedral}}) เป็น[[คริสต์ศาสนสถาน]][[นิกายรัสเซียออร์โธด็อกซ์]]ที่มีฐานะเป็น[[มหาวิหาร]]<ref>[http://www.newadvent.org/cathen/03438a.htm Catholic enclyclopedia: Cathedral]</ref>ที่ตั้งอยู่ที่เมือง[[Kaliningrad|คาลินกราด]] (เดิม[[Königsberg|เคอนิกสแบร์ก]]ในเยอรมนี) บนเกาะ[[Pregel|เพรเกิล]] (เพรโกลยา) ใน[[สหพันธรัฐรัสเซีย]] หรือเรียกว่า[[Kneiphof|คไนพ์ฮอฟ]]ในภาษาเยอรมัน
'''อาสนวิหารเคอนิกสแบร์ก''' ({{Lang-ru|Кафедральный собор Кёнигсберга}}, {{Lang-de|Königsberger Dom}}, {{lang-en|Königsberg Cathedral}}) เป็น[[อาสนวิหาร]][[ศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย]]<ref>[http://www.newadvent.org/cathen/03438a.htm Catholic enclyclopedia: Cathedral]</ref>ที่ตั้งอยู่ที่เมือง[[Kaliningrad|คาลินกราด]] (เดิม[[เคอนิกสแบร์ก]]ในเยอรมนี) บนเกาะ[[Pregel|เพรเกิล]] (เพรโกลยา) ใน[[สหพันธรัฐรัสเซีย]] หรือเรียกว่า[[Kneiphof|คไนพ์ฮอฟ]]ในภาษาเยอรมัน


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
=== คริสต์ศตวรรษที่ 14 จนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ===
=== คริสต์ศตวรรษที่ 14 จนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ===
มหาวิหารเคอนิกสแบร์กสร้างขึ้นแทนที่มหาวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าหลังจากที่[[Johann Clare|โยฮันน์ คลาเรอ]]สังฆราชแห่งแซมเบีย (Sambia) ในรัสเซียมีความประสงค์ที่จะสร้างวัดที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ต่อมามหาวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์กก็ถูกรื้อ และ นำเอาวัสดุมาสร้างมหาวิหารใหม่
มหาวิหารเคอนิกสแบร์กสร้างขึ้นแทนที่มหาวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าหลังจากที่[[โยฮันน์ คลาเรอ]] บิชอปแห่งซัมลันด์ในรัสเซียมีความประสงค์ที่จะสร้างโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ต่อมาอาสนวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์กก็ถูกรื้อ และ นำเอาวัสดุมาสร้างอาสนวิหารใหม่


การก่อสร้างมหาวิหารเริ่มขึ้นในปี [[ค.ศ. 1333]] บริเวณเนื้อที่ที่สร้างเป็นดินเลนฉะนั้นจึงต้องมีการตอกด้วยเสาเข็มที่ทำด้วยไม้โอ้คเป็นจำนวนร้อยๆ ต้นก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างได้ หลังจากเวลาเพียงเกือบ 50 ปี ส่วนใหญ่ของมหาวิหารก็สร้างเสร็จในปี [[ค.ศ. 1380]] แต่งาน[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ภายในทำต่อมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14
การก่อสร้างอาสานวิหารเริ่มขึ้นในปี [[ค.ศ. 1333]] บริเวณเนื้อที่ที่สร้างเป็นดินเลนฉะนั้นจึงต้องมีการตอกด้วยเสาเข็มที่ทำด้วยไม้โอ้คเป็นจำนวนร้อย ๆ ต้นก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างได้ หลังจากเวลาเพียงเกือบ 50 ปี ส่วนใหญ่ของมหาวิหารก็สร้างเสร็จในปี [[ค.ศ. 1380]] แต่งาน[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ภายในทำต่อมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14


[[บริเวณร้องเพลงสวด]]ตกแต่งด้วย[[จิตรกรรมฝาผนัง]]จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 งานสลักไม้เป็นแบบปลายสมัย[[ศิลปะกอธิค|กอธิค]]และงานอนุสรณ์แบบ[[ศิลปะเรอเนสซองซ์|เรอเนสซองซ์]]แกะสลักโดย[[Cornelis Floris de Vriendt|คอร์เนเลียส โฟลริส เดอ วเรียนดท์]]ในปี ค.ศ. 1570
[[บริเวณร้องเพลงสวด]]ตกแต่งด้วย[[จิตรกรรมฝาผนัง]]จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 งานสลักไม้เป็นแบบปลายสมัย[[ศิลปะกอทิก|กอทิก]]และงานอนุสรณ์แบบ[[ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา|เรอเนสซองซ์]]แกะสลักโดย[[Cornelis Floris de Vriendt|คอร์เนเลียส โฟลริส เดอ วเรียนดท์]]ในปี ค.ศ. 1570


เดิมมหาวิหารเมีหอยอดแหลมสองหอทางเหนือและใต้ทางด้านหน้า แต่ในปี ค.ศ. 1544 หอทั้งสองถูกเพลิงไหม้เสียหาย หอใต้ได้รับการสร้างใหม่แต่หอเหนือสร้างแทนด้วยหลังคาจั่วอย่างง่ายๆ ในปี ค.ศ. 1640 ก็ได้สร้างนาฬิกาภายใต้จั่วที่สร้างใหม่ และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650 ก็ได้ตั้งหอสมุดขึ้นภายใต้จั่วที่่มาจากห้องสมุดวอลเล็นโรดท์ที่อุทิศให้แก่วัดโดย[[Martin von Wallenrodt|มาร์ติน ฟอน วอลเล็นโรดท์]] การติดตั้งออร์แกนทำในปี ค.ศ. 1695 และต่อมาใน19 ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์
เดิมอาสนวิหารเมีหอยอดแหลมสองหอทางเหนือและใต้ทางด้านหน้า แต่ในปี ค.ศ. 1544 หอทั้งสองถูกเพลิงไหม้เสียหาย หอใต้ได้รับการสร้างใหม่แต่หอเหนือสร้างแทนด้วยหลังคาจั่วอย่างง่ายๆ ในปี ค.ศ. 1640 ก็ได้สร้างนาฬิกาภายใต้จั่วที่สร้างใหม่ และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650 ก็ได้ตั้งหอสมุดขึ้นภายใต้จั่วที่่มาจากห้องสมุดวอลเล็นโรดท์ที่อุทิศให้โบสถ์โดย[[Martin von Wallenrodt|มาร์ติน ฟอน วอลเล็นโรดท์]] การติดตั้งออร์แกนทำในปี ค.ศ. 1695 และต่อมาใน19 ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์


เมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1523 [[Johann Briesmann|โยฮันน์ ไบรสมันน์]]ทำการเทศนาแบบ[[ลูเทอรัน]]ขึ้นเป็นครั้งแรก และตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึง ค.ศ. 1945 มหาวิหารก็กลายเป็นมหาวิหาร[[โปรเตสแตนต์]].
เมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1523 [[Johann Briesmann|โยฮันน์ ไบรสมันน์]]ทำการเทศนาแบบ[[ลูเทอรัน]]ขึ้นเป็นครั้งแรก และตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึง ค.ศ. 1945 มหาวิหารก็กลายเป็นมหาวิหาร[[โปรเตสแตนต์]].
บรรทัด 56: บรรทัด 56:
Image:Dom_zu_Königsberg_(Postkarte).jpg|ด้านหน้าที่หอสองหอเหลือเพียงหอเดียวกับหอที่เปลี่ยนเป็นจั่ว
Image:Dom_zu_Königsberg_(Postkarte).jpg|ด้านหน้าที่หอสองหอเหลือเพียงหอเดียวกับหอที่เปลี่ยนเป็นจั่ว
Image:Dom Wiederherstellung Königsberg.jpg|ภายใน
Image:Dom Wiederherstellung Königsberg.jpg|ภายใน
Image:Dom Fuerstengruft.jpg|อนุสรณ์ดยุคอัลเบร็คช์แห่งปรัสเซีย
Image:Dom Fuerstengruft.jpg|อนุสรณ์ดยุกอัลเบรชท์แห่งปรัสเซีย
Image:Chors des Domes.jpg|[[บริเวณร้องเพลงสวด]]
Image:Chors des Domes.jpg|[[บริเวณร้องเพลงสวด]]
</gallery>
</gallery>


=== สงครามโลกครั้งที่สอง ===
=== สงครามโลกครั้งที่สอง ===
ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เรือบินทั้งระเบิดของบริติชก็ทำการทิ้งระเบิดที่เคอนิกสแบร์กอยู่สองคืน คืนแรกในคืนวันที่ 26/27 สิงหาคมส่วนใหญ่ไม่ลงในตัวเมือง แต่คืนที่สองในวันที่ 29/30 สิงหาคมทำลายบริเวณตัวเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์ก (รวมทั้งคไนพ์ฮอฟ) รวมทั้งมหาวิหาร ผู้คนและส่วนใหญ่ที่เป็นเด็กราวร้อยคนที่หนีเข้ามาหลบภัยอยู่ในวัดภายใต้หอแหลมเสียชีวิตไปกับระเบิด
ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เรือบินทั้งระเบิดของบริติชก็ทำการทิ้งระเบิดที่เคอนิกสแบร์กอยู่สองคืน คืนแรกในคืนวันที่ 26/27 สิงหาคมส่วนใหญ่ไม่ลงในตัวเมือง แต่คืนที่สองในวันที่ 29/30 สิงหาคมทำลายบริเวณตัวเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์ก (รวมทั้งคไนพ์ฮอฟ) รวมทั้งมหาวิหาร ผู้คนและส่วนใหญ่ที่เป็นเด็กราวร้อยคนที่หนีเข้ามาหลบภัยอยู่ในโบสถ์ภายใต้หอแหลมเสียชีวิตไปกับระเบิด


=== หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ===
=== หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ===
บรรทัด 70: บรรทัด 70:
ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการบูรณปฏิสังขรณ์คือการทรุดตัวของพื้นดินภายใต้มหาวิหารที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันมา แม้ในขณะที่ยังอยู่ในความครอบครองของเยอรมนี ที่เริ่มเห็นได้ชัดขึ้น
ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการบูรณปฏิสังขรณ์คือการทรุดตัวของพื้นดินภายใต้มหาวิหารที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันมา แม้ในขณะที่ยังอยู่ในความครอบครองของเยอรมนี ที่เริ่มเห็นได้ชัดขึ้น


ในปัจจุบันมหาวิหารมี[[ชาเปล]]สองชาเปลๆ หนึ่งสำหรับ[[ลูเทอรัน]] อีกชาเปลหนึ่งสำหรับ[[รัสเซียออร์โธด็อกซ์]] และพิพิธภัณฑ์ ที่ตั้งของชาเปลของลูเทอรันเป็นที่ที่มีผู้เสียชีวิตระหว่างการทั้งระเบิดในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 นอกจากนั้นแล้วมหาวิหารก็ยังใช้สำหรับการแสดงคอนเสิร์ตด้วย
ในปัจจุบันมหาวิหารมี[[โบสถ์น้อย]]สองแห่ง แห่งหนึ่งสำหรับ[[ลูเทอแรน]] อีกชาเปลหนึ่งสำหรับ[[รัสเซียออร์โธด็อกซ์]] และพิพิธภัณฑ์ ที่ตั้งของชาเปลของลูเทอรันเป็นที่ที่มีผู้เสียชีวิตระหว่างการทั้งระเบิดในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 นอกจากนั้นแล้วมหาวิหารก็ยังใช้สำหรับการแสดงคอนเสิร์ตด้วย


== Kant's Tomb ==
== Kant's Tomb ==
[[ไฟล์:Immanuel Kant Tomb.jpg|thumb|200px|[[อนุสรณ์ผู้ตาย|อนุสรณ์]]ของ[[อิมมานูเอิล คานท์]]]]
[[ไฟล์:Immanuel Kant Tomb.jpg|thumb|200px|[[อนุสรณ์ผู้ตาย|อนุสรณ์]]ของ[[อิมมานูเอิล คานท์]]]]
[[อนุสรณ์ผู้ตาย|อนุสรณ์]]ของนักปรัชญา[[อิมมานูเอิล คานท์]] “ปรมาจารย์แห่งเคอนิกสแบร์ก” ในปัจจุบันเป็น[[ที่เก็บศพ|มอโซเลียม]]ตั้งติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร มอโซเลียมสร้างโดยสถาปนิกฟรีดริช ลาห์รส เสร็จในปี ค.ศ. 1924 ทันเวลาครบรอบสองร้อยปีของการเกิดของคานท์ เดิมร่างของคานท์ฝังอยู่ภายในมหาวิหาร แต่ในปี ค.ศ. 1880 ร่างของคานท์ก็ถูกย้ายออกไปภายนอกไปตั้งไว้ในชาเปลแบบ[[ฟื้นฟูกอธิค]]ติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร แต่เมื่อเวลาผ่านไปชาเปลก็อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมและในที่สุดก็ต้องถูกรื้อทิ้งเพื่อสร้างใหม่เป็นมอโซเลียม
[[อนุสรณ์ผู้ตาย|อนุสรณ์]]ของนักปรัชญา[[อิมมานูเอิล คานท์]] “นายช่างแห่งเคอนิกสแบร์ก” ในปัจจุบันเป็น[[ที่เก็บศพ|มอโซเลียม]]ตั้งติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร มอโซเลียมสร้างโดยสถาปนิกฟรีดริช ลาห์รส เสร็จในปี ค.ศ. 1924 ทันเวลาครบรอบสองร้อยปีของการเกิดของคานท์ เดิมร่างของคานท์ฝังอยู่ภายในมหาวิหาร แต่ในปี ค.ศ. 1880 ร่างของคานท์ก็ถูกย้ายออกไปภายนอกไปตั้งไว้ในชาเปลแบบ[[ฟื้นฟูกอธิค]]ติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร แต่เมื่อเวลาผ่านไปชาเปลก็อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมและในที่สุดก็ต้องถูกรื้อทิ้งเพื่อสร้างใหม่เป็นมอโซเลียม


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 80: บรรทัด 80:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิหาร]]
* [[อาสานวิหาร]]
* [[คริสต์ศาสนสถาน]]
* [[คริสต์ศาสนสถาน]]
* [[สถาปัตยกรรมการก่อสร้างมหาวิหารในยุโรปตะวันตก]]
* [[สถาปัตยกรรมการก่อสร้างมหาวิหารในยุโรปตะวันตก]]
* [[:หมวดหมู่:ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน|ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน]]
* [[:หมวดหมู่:ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน|ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน]]
* [[แผนผังมหาวิหาร]] ([http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Amiens_cathedral_floorplan_03.JPG ผังแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของวัด])
* [[แผนผังมหาวิหาร]] ([http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Amiens_cathedral_floorplan_03.JPG ผังแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของวัด])
* [[สถาปัตยกรรมกอธิค]]
* [[สถาปัตยกรรมกอทิก]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 106: บรรทัด 106:


[[หมวดหมู่:โบสถ์คริสต์ในประเทศรัสเซีย|คเคอนิกสแบร์ก]]
[[หมวดหมู่:โบสถ์คริสต์ในประเทศรัสเซีย|คเคอนิกสแบร์ก]]
[[หมวดหมู่:มหาวิหารในรัสเซีย|คเคอนิกสแบร์ก]]
[[หมวดหมู่:มหาวิหารในรัสเซีย|คอนิกสแบร์ก]]
[[หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบกอธิค]]
[[หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบกอธิค]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมกอธิคอิฐ]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมกอธิคอิฐ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:13, 23 มกราคม 2556

มหาวิหารเคอนิกสแบร์ก
Кафедральный собор Кёнигсберга
Königsberger Dom
มหาวิหารเคอนิกสแบร์ก
แผนที่
54°42′23″N 20°30′42″E / 54.70639°N 20.51167°E / 54.70639; 20.51167
ที่ตั้งคาลินกราด
ประเทศธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
นิกายรัสเซียออร์โธด็อกซ์
สถานะมหาวิหาร
ประเภทสถาปัตย์แผนผัง
รูปแบบสถาปัตย์กอธิค
ปีสร้างค.ศ. 1333ค.ศ. 1380

อาสนวิหารเคอนิกสแบร์ก (รัสเซีย: Кафедральный собор Кёнигсберга, เยอรมัน: Königsberger Dom, อังกฤษ: Königsberg Cathedral) เป็นอาสนวิหารศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย[1]ที่ตั้งอยู่ที่เมืองคาลินกราด (เดิมเคอนิกสแบร์กในเยอรมนี) บนเกาะเพรเกิล (เพรโกลยา) ในสหพันธรัฐรัสเซีย หรือเรียกว่าคไนพ์ฮอฟในภาษาเยอรมัน

ประวัติ

คริสต์ศตวรรษที่ 14 จนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง

มหาวิหารเคอนิกสแบร์กสร้างขึ้นแทนที่มหาวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าหลังจากที่โยฮันน์ คลาเรอ บิชอปแห่งซัมลันด์ในรัสเซียมีความประสงค์ที่จะสร้างโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ต่อมาอาสนวิหารเดิมที่มีขนาดเล็กกว่าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์กก็ถูกรื้อ และ นำเอาวัสดุมาสร้างอาสนวิหารใหม่

การก่อสร้างอาสานวิหารเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1333 บริเวณเนื้อที่ที่สร้างเป็นดินเลนฉะนั้นจึงต้องมีการตอกด้วยเสาเข็มที่ทำด้วยไม้โอ้คเป็นจำนวนร้อย ๆ ต้นก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างได้ หลังจากเวลาเพียงเกือบ 50 ปี ส่วนใหญ่ของมหาวิหารก็สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1380 แต่งานจิตรกรรมฝาผนังภายในทำต่อมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14

บริเวณร้องเพลงสวดตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 งานสลักไม้เป็นแบบปลายสมัยกอทิกและงานอนุสรณ์แบบเรอเนสซองซ์แกะสลักโดยคอร์เนเลียส โฟลริส เดอ วเรียนดท์ในปี ค.ศ. 1570

เดิมอาสนวิหารเมีหอยอดแหลมสองหอทางเหนือและใต้ทางด้านหน้า แต่ในปี ค.ศ. 1544 หอทั้งสองถูกเพลิงไหม้เสียหาย หอใต้ได้รับการสร้างใหม่แต่หอเหนือสร้างแทนด้วยหลังคาจั่วอย่างง่ายๆ ในปี ค.ศ. 1640 ก็ได้สร้างนาฬิกาภายใต้จั่วที่สร้างใหม่ และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1650 ก็ได้ตั้งหอสมุดขึ้นภายใต้จั่วที่่มาจากห้องสมุดวอลเล็นโรดท์ที่อุทิศให้โบสถ์โดยมาร์ติน ฟอน วอลเล็นโรดท์ การติดตั้งออร์แกนทำในปี ค.ศ. 1695 และต่อมาใน19 ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์

เมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1523 โยฮันน์ ไบรสมันน์ทำการเทศนาแบบลูเทอรันขึ้นเป็นครั้งแรก และตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึง ค.ศ. 1945 มหาวิหารก็กลายเป็นมหาวิหารโปรเตสแตนต์.

ระเบียงภาพก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่สอง

ในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 เรือบินทั้งระเบิดของบริติชก็ทำการทิ้งระเบิดที่เคอนิกสแบร์กอยู่สองคืน คืนแรกในคืนวันที่ 26/27 สิงหาคมส่วนใหญ่ไม่ลงในตัวเมือง แต่คืนที่สองในวันที่ 29/30 สิงหาคมทำลายบริเวณตัวเมืองเก่าของเคอนิกสแบร์ก (รวมทั้งคไนพ์ฮอฟ) รวมทั้งมหาวิหาร ผู้คนและส่วนใหญ่ที่เป็นเด็กราวร้อยคนที่หนีเข้ามาหลบภัยอยู่ในโบสถ์ภายใต้หอแหลมเสียชีวิตไปกับระเบิด

หลังสงครามโลกครั้งที่สอง

หลังสงครามแล้วมหาวิหารก็ยังคงอยู่ในสภาพที่เป็นโครงสร้างที่ถูกเพลิงไหม้ และคไนพ์ฮอฟก็ทำเป็นอุทยานโดยไม่มีสิ่งก่อสร้างอื่นใด ก่อนสงครามคไนพ์ฮอฟมีตึกจำนวนหลายตึกๆ หลังหนึ่งเป็นตึกมหาวิทยาลัยอัลเบอร์ตินาหลังแรก ที่อิมมานูเอิล คานท์ทำการสอน ซึ่งเป็นตึกที่ตั้งอยู่ติดกับด้านตะวันออกของมหาวิหาร

ไม่นานหลังจากคาลินกราดเปิดให้ชาวต่างประเทศเข้าได้เมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 การก่อสร้างมหาวิหารใหม่ก็ได้เริ่มต้นขึ้นหอยอดแหลมได้รับการติดตั้งใหม่โดยใช้เฮลิคอปเตอร์ในปี ค.ศ. 1994 ในปี ค.ศ. 1995 ก็ได้มีการติดตั้งนาฬิการใหม่ที่มีระฆังสี่ใบ (1,180 กิโลกรัม, 700 กิโลกรัม, 500 กิโลกรัม และ 200 กิโลกรัม) ที่หล่อขึ้นในปี ค.ศ. 1995 นาฬิกาตีทุกสิบห้านาที เมื่อครบชั่วโมงก็จะเล่นโน้ตตัวแรกซิมโฟนีหมายเลขหมายเลข 5 โดยลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ตามด้วยระฆังเสียงเดียวตีบอกจำนวนชั่วโมง ระหว่างปี ค.ศ. 1996 ถึงปี ค.ศ. 1998 ก็ได้มีการปูหลังคา และ สร้างหน้าต่างประดับกระจกสีใหม่

ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการบูรณปฏิสังขรณ์คือการทรุดตัวของพื้นดินภายใต้มหาวิหารที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันมา แม้ในขณะที่ยังอยู่ในความครอบครองของเยอรมนี ที่เริ่มเห็นได้ชัดขึ้น

ในปัจจุบันมหาวิหารมีโบสถ์น้อยสองแห่ง แห่งหนึ่งสำหรับลูเทอแรน อีกชาเปลหนึ่งสำหรับรัสเซียออร์โธด็อกซ์ และพิพิธภัณฑ์ ที่ตั้งของชาเปลของลูเทอรันเป็นที่ที่มีผู้เสียชีวิตระหว่างการทั้งระเบิดในปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 นอกจากนั้นแล้วมหาวิหารก็ยังใช้สำหรับการแสดงคอนเสิร์ตด้วย

Kant's Tomb

อนุสรณ์ของอิมมานูเอิล คานท์

อนุสรณ์ของนักปรัชญาอิมมานูเอิล คานท์ “นายช่างแห่งเคอนิกสแบร์ก” ในปัจจุบันเป็นมอโซเลียมตั้งติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร มอโซเลียมสร้างโดยสถาปนิกฟรีดริช ลาห์รส เสร็จในปี ค.ศ. 1924 ทันเวลาครบรอบสองร้อยปีของการเกิดของคานท์ เดิมร่างของคานท์ฝังอยู่ภายในมหาวิหาร แต่ในปี ค.ศ. 1880 ร่างของคานท์ก็ถูกย้ายออกไปภายนอกไปตั้งไว้ในชาเปลแบบฟื้นฟูกอธิคติดกับทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหาร แต่เมื่อเวลาผ่านไปชาเปลก็อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมและในที่สุดก็ต้องถูกรื้อทิ้งเพื่อสร้างใหม่เป็นมอโซเลียม

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เคอนิกสแบร์ก

ระเบียงภาพ

แม่แบบ:Link FA