ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders ไปยัง [[คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต]...
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต'''<ref>[http://www.ramamental.com/journal/463/v4638.htm ระบาดวิทยาของโรคตื่นตระหนก]. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. สืบค้น 23 มกราคม 2556</ref> ({{lang-en|Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders}}, ย่อ: DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดย[[สมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา]] (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดย[[แพทย์]] นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัท[[ประกันภัย]]ทั้งใน[[สหรัฐอเมริกา]]และที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี [[พ.ศ. 2537]] ([[ค.ศ. 1994]]) และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี [[พ.ศ. 2543]] ([[ค.ศ. 2000]])
{{ชื่อภาษาอื่น}}
'''Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders''' (DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดย[[สมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา]] (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดย[[แพทย์]] นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัท[[ประกันภัย]]ทั้งใน[[สหรัฐอเมริกา]]และที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี [[พ.ศ. 2537]] ([[ค.ศ. 1994]]) และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี [[พ.ศ. 2543]] ([[ค.ศ. 2000]])


นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตใน[[บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง]] (International Classification of Diseases and Related Health Problems) หรือ ICD ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอียด
นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตใน[[บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง]] (International Classification of Diseases and Related Health Problems) หรือ ICD ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอียด

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:18, 23 มกราคม 2556

คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต[1] (อังกฤษ: Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, ย่อ: DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดยแพทย์ นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัทประกันภัยทั้งในสหรัฐอเมริกาและที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000)

นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Classification of Diseases and Related Health Problems) หรือ ICD ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอียด

  1. ระบาดวิทยาของโรคตื่นตระหนก. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. สืบค้น 23 มกราคม 2556