ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นศูนย์สูตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Panleek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panleek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
มาตรความโค้งของเส้นศูนย์สูตร หรือ จีออดดิซีของเส้นศูนย์สูตร (Geodesy of the Equator) (ดูรูปในเว็บ http://www.worldatlas.com/aatlas/imagee.htm)
มาตรความโค้งของเส้นศูนย์สูตร หรือ จีออดดิซีของเส้นศูนย์สูตร (Geodesy of the Equator) (ดูรูปในเว็บ http://www.worldatlas.com/aatlas/imagee.htm)
เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ ({{lang-en|Equator}}) เป็นหนึ่งในห้าของเส้นแนวขวางหลัก ({{lang-en|Latitude}})ที่ใช้แบ่งพื้นที่สภาพอุณภูมิและอากาศของโลก ส่วนที่เหลืออีกสี่เส้นก็มีลักษณะเป็นเส้นขนานกันที่แบ่งออกเป็น
เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ ({{lang-en|Equator}}) เป็นหนึ่งในห้าของเส้นแนวขวางหลัก ({{lang-en|Latitude}})ที่ใช้แบ่งพื้นที่สภาพอุณภูมิและอากาศของโลก ส่วนที่เหลืออีกสี่เส้นก็มีลักษณะเป็นเส้นขนานกันที่แบ่งออกเป็น
สองเส้นขนานส่วนขั้วโลก[[Polar Circle]]คือ เส้นอาร์กติคเซอร์เคิล[[Arctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นศูนย์สูตรที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ เส้นแอนตาร์กติคเซอร์เคิล[[Antarctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นเส้นศูนย์สูตรอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้
สองเส้นขนานส่วนขั้วโลก[[Polar_Circle]]คือ เส้นอาร์กติคเซอร์เคิล[[Arctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นศูนย์สูตรที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ เส้นแอนตาร์กติคเซอร์เคิล[[Antarctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นเส้นศูนย์สูตรอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้
สองเส้นขนานในเขตโซนร้อน[[Tropical Circle]]คือ เส้นทร๊อปิคออฟแคนเซอร์ [[Tropic of Cancer]] เส้นแนวขวางขนานและใกล้เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือหรือด้านบน และ เส้นทร๊อปิคออฟแค๊พพริคอร์น[[Tropic of Capricorn]] เส้นแนวขวางที่ขนานและใกล้กับเส้นศูนย์สูตรไปทางใต้ หรือด้านล่าง
สองเส้นขนานในเขตโซนร้อน[[Tropical Circle]]คือ เส้นทร๊อปิคออฟแคนเซอร์ [[Tropic of Cancer]] เส้นแนวขวางขนานและใกล้เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือหรือด้านบน และ เส้นทร๊อปิคออฟแค๊พพริคอร์น[[Tropic of Capricorn]] เส้นแนวขวางที่ขนานและใกล้กับเส้นศูนย์สูตรไปทางใต้ หรือด้านล่าง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:45, 16 มกราคม 2556

เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก

ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตรภาษาอังกฤษ อ่านว่า อีเควเตอร์ (อังกฤษ: Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันออกและตะวันตก และตั้งฉากกับแกนของทรงกลม ในที่นี้คือ แกนหมุนของดาวเคราะห์ หรือ โลกนั่นเอง เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลมเพื่อแบ่งดาวเคราะห์ หรือ โลก ออกเป็นสองซีก เท่าๆกันจากขั้วโลกเหนือ และ ขั้วโลกใต้ โดยจุดเริ่มต้นของเส้นกำหนดค่าไว้ที่ ละติจูด0 องศาทางตะวันออก ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร หรือ 24,901.5 ไมล์ มีประเทศ 13 ประเทศที่เส้นศูนย์สูตรผ่าน เส้นศูนย์สูตรเป็นหนึ่งในเส้นรุ้ง 5 เส้นสำคัญของโลกที่แบ่งตามการหมุนของโลกและการโคจรของดาวเคราะห์

มาตรความโค้งของเส้นศูนย์สูตร หรือ จีออดดิซีของเส้นศูนย์สูตร (Geodesy of the Equator) (ดูรูปในเว็บ http://www.worldatlas.com/aatlas/imagee.htm) เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ (อังกฤษ: Equator) เป็นหนึ่งในห้าของเส้นแนวขวางหลัก (อังกฤษ: Latitude)ที่ใช้แบ่งพื้นที่สภาพอุณภูมิและอากาศของโลก ส่วนที่เหลืออีกสี่เส้นก็มีลักษณะเป็นเส้นขนานกันที่แบ่งออกเป็น สองเส้นขนานส่วนขั้วโลกPolar_Circleคือ เส้นอาร์กติคเซอร์เคิลArctic Circleเส้นขนานกับเส้นศูนย์สูตรที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ เส้นแอนตาร์กติคเซอร์เคิลAntarctic Circleเส้นขนานกับเส้นเส้นศูนย์สูตรอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้

สองเส้นขนานในเขตโซนร้อนTropical Circleคือ เส้นทร๊อปิคออฟแคนเซอร์ Tropic of Cancer เส้นแนวขวางขนานและใกล้เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือหรือด้านบน และ เส้นทร๊อปิคออฟแค๊พพริคอร์นTropic of Capricorn เส้นแนวขวางที่ขนานและใกล้กับเส้นศูนย์สูตรไปทางใต้ หรือด้านล่าง

ดังนั้น เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ จึงเป็นเส้นแนวขวาง (เส้นละติจูด หรือ เส้นรุ้ง)ที่ถูกเรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่าๆกัน ดังนั้น เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมท้องฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้า เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator)

แหล่งข้อมูลอื่น