ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
== ประวัติโดยสังเขป ==
== ประวัติโดยสังเขป ==


โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา เดิมเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ในปี พศ.2496 จึงขออนุมัติแยกเป็นสองโรงเรียน โดยใช้นามใหม่ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" มีบาทหลวงทองดี กฤษเจริญเป็นเจ้าของ นายเฉลิมวงศ์ ปิตรังสี เป็นผู้จัดการ นางนวม วานิชโช เป็นครูใหญ่ การเรียนการสอนดำเนินการมาด้วยดีเป็นลำดับ จนกระทั่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2498 และดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน
โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา เดิมเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ในปี .ศ. 2496 จึงขออนุมัติแยกเป็นสองโรงเรียน โดยใช้นามใหม่ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" มีบาทหลวงทองดี กฤษเจริญเป็นเจ้าของ นายเฉลิมวงศ์ ปิตรังสี เป็นผู้จัดการ นางนวม วานิชโช เป็นครูใหญ่ การเรียนการสอนดำเนินการมาด้วยดีเป็นลำดับ จนกระทั่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2498 และดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน


== ประวัติโดยละเอียด ==
== ประวัติโดยละเอียด ==
{{ข้อมูลเยอะเกิน}}
{{ข้อมูลเยอะเกิน}}
ดังได้กล่าวมาข้างต้นว่า แต่เดิมนั้นโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ จึงใคร่ขอกล่าวถึงประวัติของโรงเรียน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็นโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ (สาขา) ไว้ที่นี้ด้วย เพื่อเป็นการแสดงงความกตัญญูกตเวทิตา ต่อท่านผู้ก่อตั้งโรงเรียนมาตั้งแต่แรกเริ่ม คือบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นอธิการ[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]] คุรพ่อเลโอ แปรูดอง จัดตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม อัสสัมชัญคอนแวนต์(สาขา)หรือโรงเรียน[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]]ขึ้น เมื่อปี พศ.2476 (คศ.1933) โดยรับบุตรหลานของสัตบุรุษชายหญิงของ[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]]มาฝากเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยทางโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์เป็นผู้รับผิดชอบ ครั้งแรกมีจำนวน 65 คน ซึ่งจำนวนนักเรียนฝากเรียนนี้ทวีขึ้นเป็นลำดับ จนกระทั่งนักเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มีจำนวนรวมกันถึง 1,757 คน เป็นนักเรียนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 848 คน และเป็นนักเรียนของอาสนวิหารอัสสัมชัญฝากเรียนจำนวน 909 คน ซึ่งนับเป็นจำนวนนักเรียนที่มากพอจะตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นส่วนของโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา จึงขอแยกโรงเรียนทั้งสองในปี พศ.2496 และตั้งชื่อโรงเรียนที่แยกออกมานี้ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" จึงนับว่าโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาถือกำเนิดเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์ ในปี พศ.2496 หลังจากที่เป็นโรงเรียนสาขาฝากเรียนอยู่ในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาตั้งแต่ปี พศ.2476 (คศ.1933)
ดังได้กล่าวมาข้างต้นว่า แต่เดิมนั้นโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ จึงใคร่ขอกล่าวถึงประวัติของโรงเรียน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็นโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ (สาขา) ไว้ที่นี้ด้วย เพื่อเป็นการแสดงงความกตัญญูกตเวทิตา ต่อท่านผู้ก่อตั้งโรงเรียนมาตั้งแต่แรกเริ่ม คือบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นอธิการ[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]] คุรพ่อเลโอ แปรูดอง จัดตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม อัสสัมชัญคอนแวนต์(สาขา)หรือโรงเรียน[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]]ขึ้น เมื่อปี .ศ. 2476 (.ศ. 1933) โดยรับบุตรหลานของสัตบุรุษชายหญิงของ[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]]มาฝากเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยทางโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์เป็นผู้รับผิดชอบ ครั้งแรกมีจำนวน 65 คน ซึ่งจำนวนนักเรียนฝากเรียนนี้ทวีขึ้นเป็นลำดับ จนกระทั่งนักเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มีจำนวนรวมกันถึง 1,757 คน เป็นนักเรียนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 848 คน และเป็นนักเรียนของอาสนวิหารอัสสัมชัญฝากเรียนจำนวน 909 คน ซึ่งนับเป็นจำนวนนักเรียนที่มากพอจะตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นส่วนของโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา จึงขอแยกโรงเรียนทั้งสองในปี .ศ. 2496 และตั้งชื่อโรงเรียนที่แยกออกมานี้ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" จึงนับว่าโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาถือกำเนิดเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์ ในปี .ศ. 2496 หลังจากที่เป็นโรงเรียนสาขาฝากเรียนอยู่ในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาตั้งแต่ปี .ศ. 2476 (.ศ. 1933)


ความดำริชอบของบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ในการจัดตั้งสถานศึกษาขึ้นนั้น ประการหนึ่งเพราะความกรุณาแก่ปวงกุลบุตรและกุลธิดาของสัตบุรุษทั้งหลาย ซึ่งจะได้มีที่พักพิงในการช่วยอบรมเสริมสร้างอนาคตให้แก่บุตรหลานของเขาให้เป็นผู้มีศีลธรรมจรรยาดี อีกประการหนึ่ง ก็คงจะเป็นเพราะเกิดความมีจิตเมตตาสงสารและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ของตัวท่านในฐานะที่ท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญนี้เอง คงจะเป็นเหตุผลหนึ่งที่บรรดาสัตบุรุษผู้มีฐานะยากจนเป็นอันมากได้มาขอร้องท่านในเรื่องไม่สามารถจะหาเงินส่งบุตรหลาน ให้เข้าเรียนในสถานศึกษาที่ดีและเป็นโรงเรียนในสถานศึกษาคาทอลิกด้วยได้ เมื่อเป็นดังนี้ สถานศึกษาแห่งความปราณีแห่งนี้จึงได้เริ่มจัดตั้งขึ้น เมื่อท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญได้ไม่นานนัก และท่านยังรับเป็นผู้อุปถัมภ์โรงเรียนนี้สืบมา
ความดำริชอบของบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ในการจัดตั้งสถานศึกษาขึ้นนั้น ประการหนึ่งเพราะความกรุณาแก่ปวงกุลบุตรและกุลธิดาของสัตบุรุษทั้งหลาย ซึ่งจะได้มีที่พักพิงในการช่วยอบรมเสริมสร้างอนาคตให้แก่บุตรหลานของเขาให้เป็นผู้มีศีลธรรมจรรยาดี อีกประการหนึ่ง ก็คงจะเป็นเพราะเกิดความมีจิตเมตตาสงสารและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ของตัวท่านในฐานะที่ท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญนี้เอง คงจะเป็นเหตุผลหนึ่งที่บรรดาสัตบุรุษผู้มีฐานะยากจนเป็นอันมากได้มาขอร้องท่านในเรื่องไม่สามารถจะหาเงินส่งบุตรหลาน ให้เข้าเรียนในสถานศึกษาที่ดีและเป็นโรงเรียนในสถานศึกษาคาทอลิกด้วยได้ เมื่อเป็นดังนี้ สถานศึกษาแห่งความปราณีแห่งนี้จึงได้เริ่มจัดตั้งขึ้น เมื่อท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญได้ไม่นานนัก และท่านยังรับเป็นผู้อุปถัมภ์โรงเรียนนี้สืบมา
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
เมื่อโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาได้แยกตัวออกมาจากฌโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์นั้น ได้มีการเลือกบุคคลที่เคยดำเนินงานในโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาแล้วไม่นานกว่า 15 ปี มาดำเนินกิจการของโรงเรียนต่อไป
เมื่อโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาได้แยกตัวออกมาจากฌโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์นั้น ได้มีการเลือกบุคคลที่เคยดำเนินงานในโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาแล้วไม่นานกว่า 15 ปี มาดำเนินกิจการของโรงเรียนต่อไป


หลังจากท่านบาทหลวงทองดี กฤษเจริญ มรณภาพ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พศ.2508 ฟน้าที่ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษานั้นจึงถูกดูแลต่อโดยท่านบาทหลวงวิลเลียม ตัน เป็นผู้ดำเนินการต่อไป ท่านได้ดำเนินการมาด้วยความราบรื่นและเจริญขึ้นเป็นลำดับ และด้วยความสามารถของคุณพ่อวิลเลียม อาคารเรียนไม้เก่า 3 หลังก็ได้กลายสภาพเป็นตึกคอนกรีตโอ่โถง มีห้องเรียนและห้องอุปกรณ์ต่างๆ สมกับที่เป็นโรงเรียนที่ได้รับการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนของรัฐ นอกจากท่านจะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด และผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาแล้ว ท่านยังเอาใจใส่อบรมมารยาทแก่นักเรียนในความดูแลของท่าน และที่สำคัญคือท่านได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านภาษาต่างประเทศแก่ลูกศิษย์ระดับมัธยมของโรงเรียนจนสำเร็จไปแล้วหลายรุ่น
หลังจากท่านบาทหลวงทองดี กฤษเจริญ มรณภาพ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม .ศ. 2508 ฟน้าที่ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษานั้นจึงถูกดูแลต่อโดยท่านบาทหลวงวิลเลียม ตัน เป็นผู้ดำเนินการต่อไป ท่านได้ดำเนินการมาด้วยความราบรื่นและเจริญขึ้นเป็นลำดับ และด้วยความสามารถของคุณพ่อวิลเลียม อาคารเรียนไม้เก่า 3 หลังก็ได้กลายสภาพเป็นตึกคอนกรีตโอ่โถง มีห้องเรียนและห้องอุปกรณ์ต่างๆ สมกับที่เป็นโรงเรียนที่ได้รับการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนของรัฐ นอกจากท่านจะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด และผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาแล้ว ท่านยังเอาใจใส่อบรมมารยาทแก่นักเรียนในความดูแลของท่าน และที่สำคัญคือท่านได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านภาษาต่างประเทศแก่ลูกศิษย์ระดับมัธยมของโรงเรียนจนสำเร็จไปแล้วหลายรุ่น
หลังจากนั้นมาโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาก็มีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียนมาโดยตลอด และมีการปรับเปลี่ยนจากโรงเรียนสหศึกษา มาเป็นโรงเรียนคาทอลิกหญิง นอกจากนี้ยังมีการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล 1-3 ประถมศึกษาตอนต้น 1-3 ประถมศึกษาตอนปลาย 4-6 มัธยมศึกษาตอนต้น 1-3 และ มัธยมศึกษาตอนปลาย 4-6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และสายศิลป์-ฝรั่งเศส ดังปัจจุบัน
หลังจากนั้นมาโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาก็มีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียนมาโดยตลอด และมีการปรับเปลี่ยนจากโรงเรียนสหศึกษา มาเป็นโรงเรียนคาทอลิกหญิง นอกจากนี้ยังมีการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล 1-3 ประถมศึกษาตอนต้น 1-3 ประถมศึกษาตอนปลาย 4-6 มัธยมศึกษาตอนต้น 1-3 และ มัธยมศึกษาตอนปลาย 4-6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และสายศิลป์-ฝรั่งเศส ดังปัจจุบัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:45, 15 มกราคม 2556

โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา
Assumption Suksa School
ไฟล์:AS Logo.gif
ที่ตั้ง
แผนที่
ข้อมูล
ชื่ออื่นอสศ. / AS
คำขวัญการศึกษา คือ แสงสว่างของชีวิต
ผู้อำนวยการซิสเตอร์ ดร.ชวาลา เวชยันต์
สีสีขาว สีแดง
เพลงเพลง มาร์ชขาวแดง
เว็บไซต์[1]
ต้นไม้ประจำโรงเรียน - ราชพฤกษ์

โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา เป็นโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกหญิง ที่ตั้งอยู่บริเวณซอยโอเรียนเต็ล (ซอยเจริญกรุง 40) เขตบางรัก ในพ.ศ. 2476 บาทหลวง เลโอ เปรูดอง ได้มาสร้างโรงเรียนคาทอลิกขึ้นมา ซึ่งเริ่มจัดการบริหารงานอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งการบริหารงานเป็นฝ่ายต่างๆ เป็นโรงเรียนแรกในสังกัดมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ

ข้อมูลทั่วไป

โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นโรงเรียนประเภทสามัญศึกษา การจัดการศึกษาของโรงเรียน ยึดแนวปรัชญาการจัดการศึกษาคาทอลิก เปิดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ในระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และเพิ่งเปิดหลักสูตรในระดับมัธยมตอนปลายขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2545

ประวัติโดยสังเขป

โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา เดิมเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ในปี พ.ศ. 2496 จึงขออนุมัติแยกเป็นสองโรงเรียน โดยใช้นามใหม่ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" มีบาทหลวงทองดี กฤษเจริญเป็นเจ้าของ นายเฉลิมวงศ์ ปิตรังสี เป็นผู้จัดการ นางนวม วานิชโช เป็นครูใหญ่ การเรียนการสอนดำเนินการมาด้วยดีเป็นลำดับ จนกระทั่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2498 และดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน

ประวัติโดยละเอียด

ดังได้กล่าวมาข้างต้นว่า แต่เดิมนั้นโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นโรงเรียนเดียวกับโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ จึงใคร่ขอกล่าวถึงประวัติของโรงเรียน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็นโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ (สาขา) ไว้ที่นี้ด้วย เพื่อเป็นการแสดงงความกตัญญูกตเวทิตา ต่อท่านผู้ก่อตั้งโรงเรียนมาตั้งแต่แรกเริ่ม คือบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญ คุรพ่อเลโอ แปรูดอง จัดตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม อัสสัมชัญคอนแวนต์(สาขา)หรือโรงเรียนอาสนวิหารอัสสัมชัญขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) โดยรับบุตรหลานของสัตบุรุษชายหญิงของอาสนวิหารอัสสัมชัญมาฝากเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยทางโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์เป็นผู้รับผิดชอบ ครั้งแรกมีจำนวน 65 คน ซึ่งจำนวนนักเรียนฝากเรียนนี้ทวีขึ้นเป็นลำดับ จนกระทั่งนักเรียนในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มีจำนวนรวมกันถึง 1,757 คน เป็นนักเรียนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 848 คน และเป็นนักเรียนของอาสนวิหารอัสสัมชัญฝากเรียนจำนวน 909 คน ซึ่งนับเป็นจำนวนนักเรียนที่มากพอจะตั้งโรงเรียนขึ้นเป็นส่วนของโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา จึงขอแยกโรงเรียนทั้งสองในปี พ.ศ. 2496 และตั้งชื่อโรงเรียนที่แยกออกมานี้ว่า "โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา" จึงนับว่าโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาถือกำเนิดเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2496 หลังจากที่เป็นโรงเรียนสาขาฝากเรียนอยู่ในบัญชีของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933)

ความดำริชอบของบาทหลวงเลโอ แปรูดอง ในการจัดตั้งสถานศึกษาขึ้นนั้น ประการหนึ่งเพราะความกรุณาแก่ปวงกุลบุตรและกุลธิดาของสัตบุรุษทั้งหลาย ซึ่งจะได้มีที่พักพิงในการช่วยอบรมเสริมสร้างอนาคตให้แก่บุตรหลานของเขาให้เป็นผู้มีศีลธรรมจรรยาดี อีกประการหนึ่ง ก็คงจะเป็นเพราะเกิดความมีจิตเมตตาสงสารและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ของตัวท่านในฐานะที่ท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญนี้เอง คงจะเป็นเหตุผลหนึ่งที่บรรดาสัตบุรุษผู้มีฐานะยากจนเป็นอันมากได้มาขอร้องท่านในเรื่องไม่สามารถจะหาเงินส่งบุตรหลาน ให้เข้าเรียนในสถานศึกษาที่ดีและเป็นโรงเรียนในสถานศึกษาคาทอลิกด้วยได้ เมื่อเป็นดังนี้ สถานศึกษาแห่งความปราณีแห่งนี้จึงได้เริ่มจัดตั้งขึ้น เมื่อท่านดำรงตำแหน่งอธิการอาสนวิหารอัสสัมชัญได้ไม่นานนัก และท่านยังรับเป็นผู้อุปถัมภ์โรงเรียนนี้สืบมา

สภาพของโรงเรียนเริ่มต้นจากโรงเรียนเล็กที่สุด และเจริญเติบโตขึ้นเป็นโรงเรียนใหญ่ที่มีคุณภาพยิ่ง ในกาลแต่เดิม ตัวโรงเรียนประกอบด้วยเรือนไม้ชั้นเดียวเล็กๆ มีห้องเรียน 5 ห้อง มีครูประมาณ 4-5 คน นักเรียนส่วนใหญ่เป็นบุตรหลานของสัตบุรุษคริสตังที่ยากจน บางคนก็มีค่าเล่าเรียนพอชำระอยู่บ้าง ไม่พอชำระบ้าง ผู้ใดยากจนจริง ๆ ก็ได้รับการอุปการะจากคุณพ่อเลโอ แปรูดอง โดยไม่ต้องชำระค่าเล่าเรียนเลย ซึ่งนักเรียนประเภทนี้มีอยู่เป็นจำนวนมาก

สำหรับหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนทั้งสอง คงดำเนินไปเช่นเดียวกันโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง อัสสัมชัญคอนแวนต์เปิดสอนชั้นประถมศึกษา 1-4 และมัธยมศึกษา 1-3 (เทียบเท่าป.7) โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเปิดสอนชั้นประถมศึกษา 1-4 เป็นโรงเรียนสหศึกษา

ด้วยความมานะพยายามของคุณพ่อเลโอ แปรูดอง ทำให้ในครั้งนั้นโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นโรงเรียนที่ทันสมัยและมีคุณภาพดีและมีชื่อเสียงพอสมควรแห่งหนึ่ง จนทำให้มีนักเรียนสมัครเรียนเข้ามามากจนไม่สามารถบรรจุนักเรียนได้ทั้งหมด อนึ่ง ในจำนวนนักเรียนดังกล่าวนี้ มีทั้งเด็กที่เป็นคาทอลิกและเด็กที่นับถือศาสนาอื่นด้วย ซึ่งสาเหตุที่รับนักเรียนโดยไม่แบ่งแยกศาสนาหรือระดับฐานะนี้ ก็เนื่องมาจากความเมตตาของคุณพ่อเลโอ แปรูดองนี้เอง ทั้งๆที่ท่านก็มีภาระหนักทางด้านศาสนกิจมากอยู่แล้ว

น้ำใจเมตตาของคุณพ่อเลโอ แปรูดอง นั้นเป็นที่ประจักษ์ชัดในบรรดาครูอาจารย์ทั้งหลายที่สอนอยู่ในโรงเรียนของท่าน จนเกิดเป็นแรงผลักดันให้บังเกิดความมุมานะ สามัคคี พากเพียรตั้งใจ ทำการอบรมสั่งสอนเด็กนักเรียนให้เจริญด้วยวิทยาการ ศึลธรรมจรรยา และมารยาทอันดีงาม จนกระทั่งโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาเป็นที่เชื่อถือแก่บรรดาผู้ปกครองทั้งหลายโดยทั่วกัน

เมื่อโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาได้แยกตัวออกมาจากฌโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์นั้น ได้มีการเลือกบุคคลที่เคยดำเนินงานในโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์มาแล้วไม่นานกว่า 15 ปี มาดำเนินกิจการของโรงเรียนต่อไป

หลังจากท่านบาทหลวงทองดี กฤษเจริญ มรณภาพ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ฟน้าที่ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษานั้นจึงถูกดูแลต่อโดยท่านบาทหลวงวิลเลียม ตัน เป็นผู้ดำเนินการต่อไป ท่านได้ดำเนินการมาด้วยความราบรื่นและเจริญขึ้นเป็นลำดับ และด้วยความสามารถของคุณพ่อวิลเลียม อาคารเรียนไม้เก่า 3 หลังก็ได้กลายสภาพเป็นตึกคอนกรีตโอ่โถง มีห้องเรียนและห้องอุปกรณ์ต่างๆ สมกับที่เป็นโรงเรียนที่ได้รับการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนของรัฐ นอกจากท่านจะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด และผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาแล้ว ท่านยังเอาใจใส่อบรมมารยาทแก่นักเรียนในความดูแลของท่าน และที่สำคัญคือท่านได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านภาษาต่างประเทศแก่ลูกศิษย์ระดับมัธยมของโรงเรียนจนสำเร็จไปแล้วหลายรุ่น

หลังจากนั้นมาโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาก็มีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียนมาโดยตลอด และมีการปรับเปลี่ยนจากโรงเรียนสหศึกษา มาเป็นโรงเรียนคาทอลิกหญิง นอกจากนี้ยังมีการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล 1-3 ประถมศึกษาตอนต้น 1-3 ประถมศึกษาตอนปลาย 4-6 มัธยมศึกษาตอนต้น 1-3 และ มัธยมศึกษาตอนปลาย 4-6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และสายศิลป์-ฝรั่งเศส ดังปัจจุบัน

สถานที่ตั้ง

โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 22 ซอยเจริญกรุง 40 ถ.เจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 7-8 ไร่

โครงสร้างอาคาร

ประกอบด้วยอาคารเรียน 4 หลัง ได้แก่ อาคารเรียน 5 ชั้น 2 หลัง อาคารเรียน 4 ชั้น 1 หลัง อาคารเรียน 3 ชั้น 1 หลัง มีห้องเรียน 58 ห้องห้องประกอบการ 5 ห้อง รวมทั้งสิ้น 63 ห้องเรียน

ปรัชญาของโรงเรียน

การศึกษา คือ แสงสว่างของชีวิต


ตราสัญลักษณ์โรงเรียน

  • อสศ. หมายถึง อักษรย่อของคำว่า “อัสสัมชัญศึกษา”
  • วงกลมใน หมายถึง เราอยู่ในโลกของการจัดการศึกษา การศึกษาจะต้องหมุนเวียนเปลี่ยนไปให้ทันเหตุการณ์
  • วงกลมนอก หมายถึง โลกภายในของโรงเรียนจะต้องสัมผัส เป็นไปอย่างกลมกลืนกับโลกภายนอกที่อยู่รอบตัวเรา คือ ระบบการจัดของหน่วยงานที่เราต้องสังกัดอยู่
  • กิ่งราชพฤกษ์ หมายถึง ความสามัคคี ความร่มเย็น

สีประจำโรงเรียน

  • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความผ่องใสของจิตใจ
  • สีแดง หมายถึง ความเข้มแข็ง ความมีพลัง


ต้นไม้ประจำโรงเรียน

ต้นราชพฤกษ์

อ้างอิง