ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญาโตเกียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:อนุสัญญาโตเกียวพิธีลงนาม.jpg|thumb|พิธีลงนามในอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ.กรุงโตเกียว]]
[[ไฟล์:อนุสัญญาโตเกียวพิธีลงนาม.jpg|thumb|พิธีลงนามในอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ.กรุงโตเกียว]]
'''อนุสัญญาโตเกียว'''({{lang-en|Tokyu Convention}}, '''อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว''' หรือ '''สนธิสัญญาโตกิโอ'''<ref name="ความเมือง">ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และจำรัส ดวงธิสาร</ref>, เนื่องจากแต่ก่อนคนไทยเรียกกรุงโตเกียวว่ากรุงโตกิโอ) เป็นอนุสัญญาสืบเนื่องมาจาก[[กรณีพิพาทอินโดจีน]]ในปี [[พ.ศ. 2484]] ขณะที่การรบยังไม่สิ้นสุดนั้น [[ประเทศญี่ปุ่น]]ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจใน[[เอเชีย]]ขณะนั้น ได้เข้ามาไกล่เกลี่ย ซึ่งประเทศ[[ไทย]]และ[[ฝรั่งเศส]]ได้ตกลง และหยุดยิงในว้นที่ [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2484]] ก่อนจะมีการเจรจากันในวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2484]]<ref name="ความเมือง"/> ณ [[กรุงโตเกียว]] โดยมีนายโซสุเกะ มัดซูโอกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายญี่ปุ่น ฝ่ายไทยมี[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงการต่างประเทศไทยเป็นหัวหน้าคณะ และฝ่ายฝรั่งเศสมี อาร์เซน อังรี เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงโตเกียวเป็นหัวหน้า ก่อนจะมีการลงนามในอนุสัญญาโตเกียวในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 โดยมี[[กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]]เป็นหัวหน้าคณะลงนาม<ref name="การสงคราม">[http://www.officer.rtaf.mi.th/e-book/group2/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1.pdf หมวดวิชาที่ 2 การทหารวิชาการสงคราม] http://www.officer.rtaf.mi.th</ref>
'''อนุสัญญาโตเกียว''' ({{lang-en|Tokyu Convention}}, '''อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว''' หรือ '''สนธิสัญญาโตกิโอ'''<ref name="ความเมือง">ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และจำรัส ดวงธิสาร</ref>, เนื่องจากแต่ก่อนคนไทยเรียกกรุงโตเกียวว่ากรุงโตกิโอ) เป็นอนุสัญญาสืบเนื่องมาจาก[[กรณีพิพาทอินโดจีน]]ในปี [[พ.ศ. 2484]] ขณะที่การรบยังไม่สิ้นสุดนั้น [[ประเทศญี่ปุ่น]]ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจใน[[เอเชีย]]ขณะนั้น ได้เข้ามาไกล่เกลี่ย ซึ่งประเทศ[[ไทย]]และ[[ฝรั่งเศส]]ได้ตกลง และหยุดยิงในว้นที่ [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2484]] ก่อนจะมีการเจรจากันในวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2484]]<ref name="ความเมือง"/> ณ [[กรุงโตเกียว]] โดยมีนายโซสุเกะ มัดซูโอกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายญี่ปุ่น ฝ่ายไทยมี[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงการต่างประเทศไทยเป็นหัวหน้าคณะ และฝ่ายฝรั่งเศสมี อาร์เซน อังรี เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงโตเกียวเป็นหัวหน้า ก่อนจะมีการลงนามในอนุสัญญาโตเกียวในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 โดยมี[[กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]]เป็นหัวหน้าคณะลงนาม<ref name="การสงคราม">[http://www.officer.rtaf.mi.th/e-book/group2/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1.pdf หมวดวิชาที่ 2 การทหารวิชาการสงคราม] http://www.officer.rtaf.mi.th</ref>


จากอนุสัญญานี้ทำให้ไทยได้ ดินแดนฝั่งขวาของ[[หลวงพระบาง]], [[จำปาศักดิ์]], [[ศรีโสภณ]], [[พระตะบอง]] และดินแดนในกัมพูชา คืนมาจากฝรั่งเศส และได้นำมาแบ่งเป็น 4 จังหวัดคือ [[จังหวัดพระตะบอง]], [[จังหวัดพิบูลสงคราม]], [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] และ[[จังหวัดลานช้าง]]<ref name="การสงคราม"/>
จากอนุสัญญานี้ทำให้ไทยได้ ดินแดนฝั่งขวาของ[[หลวงพระบาง]], [[จำปาศักดิ์]], [[ศรีโสภณ]], [[พระตะบอง]] และดินแดนในกัมพูชา คืนมาจากฝรั่งเศส และได้นำมาแบ่งเป็น 4 จังหวัดคือ [[จังหวัดพระตะบอง]], [[จังหวัดพิบูลสงคราม]], [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] และ[[จังหวัดลานช้าง]]<ref name="การสงคราม"/>
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== รายละเอียดของอนุสัญญา<ref name="ความเมือง"/> ==
== รายละเอียดของอนุสัญญา<ref name="ความเมือง"/> ==
[[ไฟล์:หลักปักปันเขตแดนสยาม.jpg|thumb|หลักปักปันเขตแดนสยาม]]
[[ไฟล์:หลักปักปันเขตแดนสยาม.jpg|thumb|หลักปักปันเขตแดนสยาม]]
#ให้ประเทศไทยได้รับคืนดินแดนทั้งหมดที่เสียให้ฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา เมื่อ ร.ศ. 123 มณฑลบูรพาที่เสียไปใน ร.ศ. 126 ฝรั่งเศสจะคืนพระตะบองและศรีโสภณให้จนถึงทะเลสาบ แต่เสียมราฐและนครวัดยังเป็นของฝรั่งเศสอยู่
# ให้ประเทศไทยได้รับคืนดินแดนทั้งหมดที่เสียให้ฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา เมื่อ ร.ศ. 123 มณฑลบูรพาที่เสียไปใน ร.ศ. 126 ฝรั่งเศสจะคืนพระตะบองและศรีโสภณให้จนถึงทะเลสาบ แต่เสียมราฐและนครวัดยังเป็นของฝรั่งเศสอยู่
#ให้ถือร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดนใน[[แม่น้ำโขง]] แต่เกาะโขงยังเป็นของอาณาเขตอินโดจีนฝรั่งเศส เกาะโคนตกเป็นของไทย ส่วนดินแดนเล็กๆบนฝั่งขวาของแม่น้ำตรงข้ามกับสะตรึงเตรง ซึ่งแต่เดิมสงวนไว้ให้ฝรั่งเศสนั้น ฝรั่งเศสยกให้ไทย
# ให้ถือร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดนใน[[แม่น้ำโขง]] แต่เกาะโขงยังเป็นของอาณาเขตอินโดจีนฝรั่งเศส เกาะโคนตกเป็นของไทย ส่วนดินแดนเล็กๆบนฝั่งขวาของแม่น้ำตรงข้ามกับสะตรึงเตรง ซึ่งแต่เดิมสงวนไว้ให้ฝรั่งเศสนั้น ฝรั่งเศสยกให้ไทย
#ในทะเลสาบ รัศมี 20 กิโลเมตรจากจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างเสียมราฐกับพระตะบอง จดทะเลสาบ(ปากน้ำสะดึงกัมบด)ไปบรรจบจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างพระตะบองกับโพธิสัตว์จดทะเลสาบ(ปากน้ำตะตึงดนตรี)เป็นเส้นเขตแดน ทะเลสาบคนไทยและฝรั่งเศสทำการเดินเรือจับสัตว์น้ำได้โดยเสรี
# ในทะเลสาบ รัศมี 20 กิโลเมตรจากจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างเสียมราฐกับพระตะบอง จดทะเลสาบ (ปากน้ำสะดึงกัมบด) ไปบรรจบจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างพระตะบองกับโพธิสัตว์จดทะเลสาบ (ปากน้ำตะตึงดนตรี) เป็นเส้นเขตแดน ทะเลสาบคนไทยและฝรั่งเศสทำการเดินเรือจับสัตว์น้ำได้โดยเสรี
#ในบรรดาดินแดนที่โอนให้แก่ประเทศไทยนั้นต้องปลอดทหาร คนฝรั่งเศสจะได้รับการปฏิบัติเท่าเทียมกับคนไทย ยกเว้นการได้มาของ[[อสังหาริมทรัพย์]] สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
# ในบรรดาดินแดนที่โอนให้แก่ประเทศไทยนั้นต้องปลอดทหาร คนฝรั่งเศสจะได้รับการปฏิบัติเท่าเทียมกับคนไทย ยกเว้นการได้มาของ[[อสังหาริมทรัพย์]] สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
#รัฐบาลไทยจะอำนวยความคุ้มครองให้แก่บรรดาที่บรรจุราชอัฐิของราชวงค์หลวงพระบาง ซึ่งอยู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงตรงข้ามเมืองหลวงพระบาง และจะอำนวยความสะดวกต่างๆในการรักษาและเยี่ยมเยียนที่บรรจุอัฐินั้น
# รัฐบาลไทยจะอำนวยความคุ้มครองให้แก่บรรดาที่บรรจุราชอัฐิของราชวงค์หลวงพระบาง ซึ่งอยู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงตรงข้ามเมืองหลวงพระบาง และจะอำนวยความสะดวกต่างๆในการรักษาและเยี่ยมเยียนที่บรรจุอัฐินั้น
#ในการโอนอธิปไตยเหนือดินแดนที่ยกให้ไทยนั้น คนชาติฝรั่งเศสที่อาศัยอยู่ย่อมได้สัญชาติไทยทันที แต่ภายในเวลา 3 ปี คนชาติฝรั่งเศสจะเลือกเอาสัญชาติฝรั่งเศสไว้ได้โดย
# ในการโอนอธิปไตยเหนือดินแดนที่ยกให้ไทยนั้น คนชาติฝรั่งเศสที่อาศัยอยู่ย่อมได้สัญชาติไทยทันที แต่ภายในเวลา 3 ปี คนชาติฝรั่งเศสจะเลือกเอาสัญชาติฝรั่งเศสไว้ได้โดย
##แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้ปกครองผู้มีอำนาจ
## แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้ปกครองผู้มีอำนาจ
##ย้ายภูมิลำเนาไปอยู่ในดินแดนฝรั่งเศส
## ย้ายภูมิลำเนาไปอยู่ในดินแดนฝรั่งเศส
#ประเทศไทยจะใช้เงิน 6 ล้านเปียสอินโดจีนแก่ฝรั่งเศส ในเวลา 6 ปี
# ประเทศไทยจะใช้เงิน 6 ล้านเปียสอินโดจีนแก่ฝรั่งเศส ในเวลา 6 ปี
#การขัดกันที่เกิดขึ้นระหว่างไทยและฝรั่งเศสในเรื่องตีความหรือการใช้บทแห่งอนุสัญญานี้ให้ตกลงกันด้วยการทูต ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ให้เสนอรัฐบาลญี่ปุ่นไกล่เกลี่ย
# การขัดกันที่เกิดขึ้นระหว่างไทยและฝรั่งเศสในเรื่องตีความหรือการใช้บทแห่งอนุสัญญานี้ให้ตกลงกันด้วยการทูต ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ให้เสนอรัฐบาลญี่ปุ่นไกล่เกลี่ย
#ส่วนการถอนตัวและโอนดินแดนนั้น รัฐบาลฝรั่งเศสจะมอบบัญชีรายการอสังหาริมทรัพย์สาธารณะที่มีอยู่ในดินแดนที่ยกให้พร้อมบัญชีรายนามผู้แทนฝรั่งเศสซึ่งได้รับมอบหมายให้ดำเนินการโอนนั้นแก่รัฐบาลไทยภายใน 20 วัน ส่วนรัฐบาลไทยจะมอบบัญชีรายนามผู้แทนฝ่ายไทยภายใน 20 วันเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีอนุสัญญานี้ได้ถูกยกเลิกโดย "ความตกลงระงับกรณีระหว่างไทยกับฝรั่งเศส"<ref>[http://drmlib.parliament.go.th/site.php?mod=document&op=preview&url=aHR0cDovL2RsLnBhcmxpYW1lbnQuZ28udGgvYml0c3RyZWFtL2hhbmRsZS9saXJ0LzMwMDA5Ni8wMDAwMDAwMDAwNTQ5MDkucGRmP3NlcXVlbmNlPTE=&handle=300096&email=&v=preview รายงานการประชุมรัฐสภา]</ref> ซึ่งทำที่กรุงวอชิงตัน เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2489 (ค.ศ. 1946) หรือที่รู้จักในชื่อ "Washington Accord"
# ส่วนการถอนตัวและโอนดินแดนนั้น รัฐบาลฝรั่งเศสจะมอบบัญชีรายการอสังหาริมทรัพย์สาธารณะที่มีอยู่ในดินแดนที่ยกให้พร้อมบัญชีรายนามผู้แทนฝรั่งเศสซึ่งได้รับมอบหมายให้ดำเนินการโอนนั้นแก่รัฐบาลไทยภายใน 20 วัน ส่วนรัฐบาลไทยจะมอบบัญชีรายนามผู้แทนฝ่ายไทยภายใน 20 วันเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีอนุสัญญานี้ได้ถูกยกเลิกโดย "ความตกลงระงับกรณีระหว่างไทยกับฝรั่งเศส"<ref>[http://drmlib.parliament.go.th/site.php?mod=document&op=preview&url=aHR0cDovL2RsLnBhcmxpYW1lbnQuZ28udGgvYml0c3RyZWFtL2hhbmRsZS9saXJ0LzMwMDA5Ni8wMDAwMDAwMDAwNTQ5MDkucGRmP3NlcXVlbmNlPTE=&handle=300096&email=&v=preview รายงานการประชุมรัฐสภา]</ref> ซึ่งทำที่กรุงวอชิงตัน เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2489 (ค.ศ. 1946) หรือที่รู้จักในชื่อ "Washington Accord"


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:32, 11 มกราคม 2556

พิธีลงนามในอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ.กรุงโตเกียว

อนุสัญญาโตเกียว (อังกฤษ: Tokyu Convention, อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว หรือ สนธิสัญญาโตกิโอ[1], เนื่องจากแต่ก่อนคนไทยเรียกกรุงโตเกียวว่ากรุงโตกิโอ) เป็นอนุสัญญาสืบเนื่องมาจากกรณีพิพาทอินโดจีนในปี พ.ศ. 2484 ขณะที่การรบยังไม่สิ้นสุดนั้น ประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจในเอเชียขณะนั้น ได้เข้ามาไกล่เกลี่ย ซึ่งประเทศไทยและฝรั่งเศสได้ตกลง และหยุดยิงในว้นที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2484 ก่อนจะมีการเจรจากันในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2484[1]กรุงโตเกียว โดยมีนายโซสุเกะ มัดซูโอกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายญี่ปุ่น ฝ่ายไทยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงการต่างประเทศไทยเป็นหัวหน้าคณะ และฝ่ายฝรั่งเศสมี อาร์เซน อังรี เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงโตเกียวเป็นหัวหน้า ก่อนจะมีการลงนามในอนุสัญญาโตเกียวในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 โดยมีกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์เป็นหัวหน้าคณะลงนาม[2]

จากอนุสัญญานี้ทำให้ไทยได้ ดินแดนฝั่งขวาของหลวงพระบาง, จำปาศักดิ์, ศรีโสภณ, พระตะบอง และดินแดนในกัมพูชา คืนมาจากฝรั่งเศส และได้นำมาแบ่งเป็น 4 จังหวัดคือ จังหวัดพระตะบอง, จังหวัดพิบูลสงคราม, จังหวัดนครจัมปาศักดิ์ และจังหวัดลานช้าง[2]

รายละเอียดของอนุสัญญา[1]

ไฟล์:หลักปักปันเขตแดนสยาม.jpg
หลักปักปันเขตแดนสยาม
  1. ให้ประเทศไทยได้รับคืนดินแดนทั้งหมดที่เสียให้ฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา เมื่อ ร.ศ. 123 มณฑลบูรพาที่เสียไปใน ร.ศ. 126 ฝรั่งเศสจะคืนพระตะบองและศรีโสภณให้จนถึงทะเลสาบ แต่เสียมราฐและนครวัดยังเป็นของฝรั่งเศสอยู่
  2. ให้ถือร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดนในแม่น้ำโขง แต่เกาะโขงยังเป็นของอาณาเขตอินโดจีนฝรั่งเศส เกาะโคนตกเป็นของไทย ส่วนดินแดนเล็กๆบนฝั่งขวาของแม่น้ำตรงข้ามกับสะตรึงเตรง ซึ่งแต่เดิมสงวนไว้ให้ฝรั่งเศสนั้น ฝรั่งเศสยกให้ไทย
  3. ในทะเลสาบ รัศมี 20 กิโลเมตรจากจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างเสียมราฐกับพระตะบอง จดทะเลสาบ (ปากน้ำสะดึงกัมบด) ไปบรรจบจุดพรมแดนปัจจุบันระหว่างพระตะบองกับโพธิสัตว์จดทะเลสาบ (ปากน้ำตะตึงดนตรี) เป็นเส้นเขตแดน ทะเลสาบคนไทยและฝรั่งเศสทำการเดินเรือจับสัตว์น้ำได้โดยเสรี
  4. ในบรรดาดินแดนที่โอนให้แก่ประเทศไทยนั้นต้องปลอดทหาร คนฝรั่งเศสจะได้รับการปฏิบัติเท่าเทียมกับคนไทย ยกเว้นการได้มาของอสังหาริมทรัพย์ สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
  5. รัฐบาลไทยจะอำนวยความคุ้มครองให้แก่บรรดาที่บรรจุราชอัฐิของราชวงค์หลวงพระบาง ซึ่งอยู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงตรงข้ามเมืองหลวงพระบาง และจะอำนวยความสะดวกต่างๆในการรักษาและเยี่ยมเยียนที่บรรจุอัฐินั้น
  6. ในการโอนอธิปไตยเหนือดินแดนที่ยกให้ไทยนั้น คนชาติฝรั่งเศสที่อาศัยอยู่ย่อมได้สัญชาติไทยทันที แต่ภายในเวลา 3 ปี คนชาติฝรั่งเศสจะเลือกเอาสัญชาติฝรั่งเศสไว้ได้โดย
    1. แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้ปกครองผู้มีอำนาจ
    2. ย้ายภูมิลำเนาไปอยู่ในดินแดนฝรั่งเศส
  7. ประเทศไทยจะใช้เงิน 6 ล้านเปียสอินโดจีนแก่ฝรั่งเศส ในเวลา 6 ปี
  8. การขัดกันที่เกิดขึ้นระหว่างไทยและฝรั่งเศสในเรื่องตีความหรือการใช้บทแห่งอนุสัญญานี้ให้ตกลงกันด้วยการทูต ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ให้เสนอรัฐบาลญี่ปุ่นไกล่เกลี่ย
  9. ส่วนการถอนตัวและโอนดินแดนนั้น รัฐบาลฝรั่งเศสจะมอบบัญชีรายการอสังหาริมทรัพย์สาธารณะที่มีอยู่ในดินแดนที่ยกให้พร้อมบัญชีรายนามผู้แทนฝรั่งเศสซึ่งได้รับมอบหมายให้ดำเนินการโอนนั้นแก่รัฐบาลไทยภายใน 20 วัน ส่วนรัฐบาลไทยจะมอบบัญชีรายนามผู้แทนฝ่ายไทยภายใน 20 วันเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีอนุสัญญานี้ได้ถูกยกเลิกโดย "ความตกลงระงับกรณีระหว่างไทยกับฝรั่งเศส"[3] ซึ่งทำที่กรุงวอชิงตัน เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2489 (ค.ศ. 1946) หรือที่รู้จักในชื่อ "Washington Accord"

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และจำรัส ดวงธิสาร
  2. 2.0 2.1 หมวดวิชาที่ 2 การทหารวิชาการสงคราม http://www.officer.rtaf.mi.th
  3. รายงานการประชุมรัฐสภา