ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซตย่อย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YFdyh-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: am, ar, be, be-x-old, bn, ca, ckb, cs, de, el, eo, es, et, eu, fa, fi, fiu-vro, fr, he, hr, hu, id, is, it, ja, ko, ku, mk, ms, nl, nn, no, pl, pt, ro, ru, scn, simple, sk, sl, sr, sv, tr, uk, vi, zh, zh-classical
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}

[[หมวดหมู่:มโนทัศน์เบื้องต้นในทฤษฎีเซต]]


[[am:ታህታይ ስብስብ]]
[[am:ታህታይ ስብስብ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:13, 5 มกราคม 2556

ในคณิตศาสตร์โดยเฉพาะสาขาทฤษฎีเซต เซต A เป็นเซตย่อยของเซต B หรืออาจจะบอกว่าเซต B เป็นซูเปอร์เซตของเซต A ถ้า A เป็นส่วนหนึ่งของ B นั่นก็คือสมาชิกทั้งหมดของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B ด้วย ทั้งนี้ A กับ B อาจเท่ากันก็ได้

นิยาม

ให้ A และ B เป็นเซต โดยที่สมาชิกทั้งหมดใน A เป็นสมาชิกใน B ด้วย จะได้ว่า

  • A เป็นเซตย่อยของ B เขียนเป็นสัญลักษณ์โดย
หรือในทางกลับกันจะได้ว่า
  • B เป็นซูเปอร์เซตของ A เขียนเป็นสัญลักษณ์โดย

ถ้า A เป็นเซตย่อยของ B แต่ A ไม่เท่ากับ B (เช่นมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวที่อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A) จะได้ว่า

  • A ก็ยังเป็นเซตย่อยแท้ของ B ด้วย เขียนเป็นสัญลักษณ์โดย
หรือในทางกลับกันจะได้ว่า
  • B เป็นซูเปอร์เซตแท้ของ A เขียนเป็นสัญลักษณ์โดย