ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Panyatham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:หอน้ำรถไฟรามราชนิเวศ.jpg|thumb|หอคอยเก็บน้ำทางด้านใต้ของพระรามราชนิเวศน์(วังบ้านปืน) ]]'''ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ'''หรือ '''รถไฟรางเล็ก สายเพชรบุรี-บางทะลุ''' เป็น[[ทางรถไฟ]]ที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและสเบียงในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>http://www.pantown.com/board.php?id=20572&area=3&name=board1&topic=23&action=view หาดเจ้าสำราญ</ref>
[[ไฟล์:หอน้ำรถไฟรามราชนิเวศ.jpg|thumb|หอคอยเก็บน้ำทางด้านใต้ของพระรามราชนิเวศน์(วังบ้านปืน) ]]'''ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ'''หรือ '''รถไฟรางเล็ก สายเพชรบุรี-บางทะลุ''' เป็น[[ทางรถไฟ]]ที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและสเบียงในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>http://www.pantown.com/board.php?id=20572&area=3&name=board1&topic=23&action=view หาดเจ้าสำราญ</ref>


เอกสารบันทึกในรัชกาลที่ 6 บันทึกราชกิจรายวัน และ บันทึกของ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล|ม.ล. ปิ่น มาลากุล]] ได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประชวร ด้วยโรครูมาติซึ่ม มีพระอาการปวดตามพระวรกาย แพทย์หลวงประจำพระองค์ จึงได้กราบบังคมทูลให้เสด็จไปประทับ ณ สถานที่ที่อบอุ่น อากาศถ่ายเทสะดวกแถบชายทะเล
เอกสารบันทึกในรัชกาลที่ 6 บันทึกราชกิจรายวัน และ บันทึกของ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล|ม.ล. ปิ่น มาลากุล]] ได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประชวร ด้วยโรครูมาติซึ่ม มีพระอาการปวดตามพระวรกาย แพทย์หลวงประจำพระองค์ จึงได้กราบบังคมทูลให้เสด็จไปประทับ ณ สถานที่ที่อบอุ่น อากาศถ่ายเทสะดวกแถบชายทะเล


[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าให้ข้าราชบริพาร เสาะหาพื้นที่ที่มีอากาศเหมาะสมในการ เสด็จพระราชดำเนินมาพักผ่อนพระวรกาย เพื่อพระพลานามัย ซึ่งในขณะนั้น เมื่อได้มีการกราบทูลให้พระองค์เสด็จไปพักผ่อน ณ หาดในหัวหิน ซึ่งในขณะนั้นได้มีชื่อเสียงแล้ว แต่พระองค์ก็ได้มีรับสั่งว่า การเสด็จไปพักผ่อนที่หัวหินจะไปรบกวนประชาชนที่ไปพักผ่อนที่[[หัวหิน]] จึงได้ทรงเลือกที่ [[ตำบลบางทะลุ]]([[ตำบลหาดเจ้าสำราญ]]) [[อำเภอชะอำ]] (ปัจจุบันขึ้นอยู่กับ[[อำเภอเมืองเพชรบุรี]]แทน) [[จังหวัดเพชรบุรี]]
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าให้ข้าราชบริพาร เสาะหาพื้นที่ที่มีอากาศเหมาะสมในการ เสด็จพระราชดำเนินมาพักผ่อนพระวรกาย เพื่อพระพลานามัย ซึ่งในขณะนั้น เมื่อได้มีการกราบทูลให้พระองค์เสด็จไปพักผ่อน ณ หาดในหัวหิน ซึ่งในขณะนั้นได้มีชื่อเสียงแล้ว แต่พระองค์ก็ได้มีรับสั่งว่า การเสด็จไปพักผ่อนที่หัวหินจะไปรบกวนประชาชนที่ไปพักผ่อนที่[[หัวหิน]] จึงได้ทรงเลือกที่ [[ตำบลบางทะลุ]]([[ตำบลหาดเจ้าสำราญ]]) [[อำเภอชะอำ]] (ปัจจุบันขึ้นอยู่กับ[[อำเภอเมืองเพชรบุรี]]แทน) [[จังหวัดเพชรบุรี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:39, 5 มกราคม 2556

หอคอยเก็บน้ำทางด้านใต้ของพระรามราชนิเวศน์(วังบ้านปืน)

ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญหรือ รถไฟรางเล็ก สายเพชรบุรี-บางทะลุ เป็นทางรถไฟที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและสเบียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว[1]

เอกสารบันทึกในรัชกาลที่ 6 บันทึกราชกิจรายวัน และ บันทึกของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล ได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประชวร ด้วยโรครูมาติซึ่ม มีพระอาการปวดตามพระวรกาย แพทย์หลวงประจำพระองค์ จึงได้กราบบังคมทูลให้เสด็จไปประทับ ณ สถานที่ที่อบอุ่น อากาศถ่ายเทสะดวกแถบชายทะเล

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าให้ข้าราชบริพาร เสาะหาพื้นที่ที่มีอากาศเหมาะสมในการ เสด็จพระราชดำเนินมาพักผ่อนพระวรกาย เพื่อพระพลานามัย ซึ่งในขณะนั้น เมื่อได้มีการกราบทูลให้พระองค์เสด็จไปพักผ่อน ณ หาดในหัวหิน ซึ่งในขณะนั้นได้มีชื่อเสียงแล้ว แต่พระองค์ก็ได้มีรับสั่งว่า การเสด็จไปพักผ่อนที่หัวหินจะไปรบกวนประชาชนที่ไปพักผ่อนที่หัวหิน จึงได้ทรงเลือกที่ ตำบลบางทะลุ(ตำบลหาดเจ้าสำราญ) อำเภอชะอำ (ปัจจุบันขึ้นอยู่กับอำเภอเมืองเพชรบุรีแทน) จังหวัดเพชรบุรี

พ.ศ. 2460 ได้มีการก่อสร้างพระราชวังอย่างง่ายขึ้น คือ ค่ายหลวงบางทะลุ ต่อมา ได้เปลี่ยนเป็น ค่ายหลวงหาดเจ้าสำราญ และพระตำหนักหาดเจ้าสำราญ[2] การเดินทางได้มีการก่อสร้างทางรถไฟรางแคบขนาดเล็ก ขนาดความกว้างของราง 75 เซนติเมตร [3] ราง 14-16ปอนด์ มีพระยาวรพงษ์พิพัทธ์ เป็นนายกองคุมการก่อสร้าง

ทางรถไฟสายนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยเสด็จพระดำเนินเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2464 ปัจจุบันได้รื้อรางไปหมดแล้ว ต่อมาได้สร้างทางหลวงแผ่นดินตามเส้นทางนี้ ปัจจุบันคือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3177 เพชรบุรี-หาดเจ้าสำราญ สิ่งที่หลงเหลือเป็นหลักฐานของทางรถไฟสายนี้ก็คือหอคอยเก็บน้ำที่ไว้ใช้สำหรับรถไฟไอน้ำในสมัยนั้น ที่อยู่ด้านทิศใต้ของพระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) ใกล้กับสะพานอุรุพงษ์

ค่ายหลวงบางทะลุ (พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ)

อ้างอิง

  1. http://www.pantown.com/board.php?id=20572&area=3&name=board1&topic=23&action=view หาดเจ้าสำราญ
  2. ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนนามพระราชวังบ้านปืน และค่ายหลวงบางทลุ แขวงจังหวัดเพชรบุรี, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๑๐๘
  3. http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=3021 รถไฟรางเล็ก สายเพชรบุรี-บางทะลุ