ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับเหยี่ยว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
'''อันดับ Accipitriformes'''
'''อันดับ Accipitriformes'''
* [[Accipitridae]] ([[เหยี่ยวหน้าเทา]], [[อินทรี]], [[เหยี่ยวรุ้ง]], [[เหยี่ยวนกเขา]], [[เหยี่ยวไคต์]], [[แร้งโลกเก่า]])
* [[Accipitridae]] ([[เหยี่ยวหน้าเทา]], [[อินทรี]], [[เหยี่ยวรุ้ง]], [[เหยี่ยวนกเขา]], [[เหยี่ยวไคต์]], [[แร้งโลกเก่า]])
* [[Cathartidae]] ([[แร้งโลกใหม่]]รวมถึง[[แร้ง]])
* [[Cathartidae]] ([[แร้งโลกใหม่]])
* [[Pandionidae]] (เหยี่ยวออสเปร)
* [[Pandionidae]] (เหยี่ยวออสเปร)
* [[Sagittariidae]] (นกเลขานุการ)
* [[Sagittariidae]] (นกเลขานุการ)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:05, 4 มกราคม 2556

อันดับเหยี่ยว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: อีโอซีน-ปัจจุบัน, 47–0Ma
นกออก หรือ อินทรีทะเลปากขาว (Haliaeetus leucogaster)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
ชั้นฐาน: Neognathae
อันดับ: Accipitriformes
วงศ์

อันดับเหยี่ยว[1] (Accipitriformes) เป็นอันดับที่ประกอบด้วยนกล่าเหยื่อเวลากลางวันส่วนมาก เช่น เหยี่ยวนกเขา, อินทรี และ แร้ง มีประมาณ 225 ชนิด ในอดีตจะรวมเหยี่ยวในอันดับ Falconiformes แต่ผู้แต่งบางคนแยกมาไว้ในอันดับ Accipitriformes[2][3][4][5] การศึกษา DNA ในปัจจุบันแสดงว่า เหยี่ยวไม่ได้เป็นญาติใกล้ชิดกับนกในอันดับ Accipitriformes แต่ใกล้ชิดกับนกแก้วและนกเกาะคอน[6] ตั้งแต่การแบ่งแยก (แต่ก็ไม่ได้วางเหยี่ยวถัดจากนกแก้วหรือนกเกาะคอน) ได้รับการยอมรับโดยคณะกรรมการการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาใต้แห่งสมาคมนักปักษีวิทยาแห่งอเมริกา (American Ornithologists' Union) (SACC),[7] คณะกรรมการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาเหนือ (NACC),[8] และ การประชุมปักษีนานาชาติ (IOC)[9]

บนพื้นฐานของ DNA และการจัดประเภทของ NACC และ IOC ได้จัดแร้งโลกใหม่ใน Accipitriformes,[6][8] ขณะที่ SACC ได้จัดแร้งโลกใหม่อยู่ในอันดับอื่น [7] การจัดวางแร้งโลกใหม่นั้นยังคงเป็นปัญหามาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1990

อนุกรมวิธาน

อันดับ Accipitriformes

อ้างอิง

  1. อันดับเหยี่ยว ดัชนีสิ่งมีชีวิต กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
  2. Voous 1973.
  3. Cramp 1980, pp. 3, 277.
  4. Ferguson-Lees & Christie 2001, p. 69.
  5. Christidis & Boles 2008, pp. 50–51.
  6. 6.0 6.1 Hackett et al 2008.
  7. 7.0 7.1 Remsen et al.
  8. 8.0 8.1 Chesser et al. 2010.
  9. Gill & Donsker.

บรรณานุกรม

  • Christidis, Les; Boles, Walter E. (2008). Systematics and Taxonomy of Australian Birds. CSIRO Publishing. ISBN 0-643-06511-3. สืบค้นเมื่อ 2010-01-14. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help) Includes a review of recent literature on the controversy.
  • Cramp, Stanley (1980). Handbook of the Birds of Europe, the Middle East and North Africa: The Birds of the Western Palearctic – Hawks to Bustards. Oxford University Press. pp. 3, 277. ISBN 0-19-857505-X. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Ferguson-Lees, James; Christie, David A. (2001). Raptors of the World. Illustrated by Kim Franklin, David Mead, and Philip Burton. Houghton Mifflin. ISBN 978-0-618-12762-7. สืบค้นเมื่อ 2011-05-26. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Gill, Frank; Donsker, D. "IOC World Bird List (version 2.4)". Worldbirdnames.org. สืบค้นเมื่อ 2010-03-12. {{cite web}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Remsen, J. V., Jr.; Cadena, C. D.; Jaramillo, A.; Nores, M. "A classification of the bird species of South America (section "ACCIPITRIDAE (HAWKS) 3" note 1)". Version 11 December 2008. American Ornithologists' Union. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26. {{cite web}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)