ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาฉลามครุย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก vi:Chlamydoselachus anguineus ไปเป็น vi:Cá mập thằn lằn
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ชิซุโอกะ" → "ชิซุโอะกะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Chlamydoselachus anguineus'' ในอยู่ในวงศ์ [[Chlamydoselachidae]] เดิมเคย[[ความเชื่อ|เชื่อ]]ว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของ[[ญี่ปุ่น]] ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "[[ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต]]" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่[[ยุคครีเทเชียส]] จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Chlamydoselachus anguineus'' ในอยู่ในวงศ์ [[Chlamydoselachidae]] เดิมเคย[[ความเชื่อ|เชื่อ]]ว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของ[[ญี่ปุ่น]] ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "[[ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต]]" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่[[ยุคครีเทเชียส]] จนกระทั่งถึงปัจจุบัน


ในเดือน[[มกราคม]] [[ค.ศ. 2007]] ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็น[[ข่าว]]โด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมง[[ชาวญี่ปุ่น]]สามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมือง[[ชิซุโอะกะ (เมือง)|ชิซุโอกะ]]ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ[[กรุงโตเกียว]] ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจาก[[ความร้อน]]ที่ขึ้นสูงของ[[อุณหภูมิ]]ของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็[[ตาย]]ไป<ref>[http://news.nationalgeographic.com/news/2007/01/photogalleries/frilled-shark/ Rare "Prehistoric" Shark Photographed Alive จาก[[สมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก]]]</ref>
ในเดือน[[มกราคม]] [[ค.ศ. 2007]] ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็น[[ข่าว]]โด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมง[[ชาวญี่ปุ่น]]สามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมือง[[ชิซุโอะกะ (เมือง)|ชิซุโอะกะ]]ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ[[กรุงโตเกียว]] ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจาก[[ความร้อน]]ที่ขึ้นสูงของ[[อุณหภูมิ]]ของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็[[ตาย]]ไป<ref>[http://news.nationalgeographic.com/news/2007/01/photogalleries/frilled-shark/ Rare "Prehistoric" Shark Photographed Alive จาก[[สมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก]]]</ref>


เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้[[นอร์เวย์]], [[แอฟริกาใต้]], [[นิวซีแลนด์]]และ[[ชิลี]] มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหล มีผิว[[สีน้ำตาล]]หรือ[[เทา]]เข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ และฟูกางออกเหมือน[[ซาลาแมนเดอร์]]บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ปากกว้างเลยตำแหน่งของ[[ตา]] ภายใน[[ปาก]]มีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้[[สันนิษฐาน]]ว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 [[ฟุต]]
เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้[[นอร์เวย์]], [[แอฟริกาใต้]], [[นิวซีแลนด์]]และ[[ชิลี]] มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหล มีผิว[[สีน้ำตาล]]หรือ[[เทา]]เข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ และฟูกางออกเหมือน[[ซาลาแมนเดอร์]]บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ปากกว้างเลยตำแหน่งของ[[ตา]] ภายใน[[ปาก]]มีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้[[สันนิษฐาน]]ว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 [[ฟุต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:26, 26 ธันวาคม 2555

ปลาฉลามครุย
ปลาฉลามครุย
บริเวณส่วนหัวชัด ๆ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับใหญ่: Selachimorpha
อันดับ: Hexanchiformes
วงศ์: Chlamydoselachidae
Garman, 1884
สกุล: Chlamydoselachus
สปีชีส์: C.  anguineus
ชื่อทวินาม
Chlamydoselachus anguineus
(Garman, 1884)
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของปลาฉลามครุย
ชื่อพ้อง
  • Chlamydoselachus anguineum Garman, 1884
  • Didymodus anguineus Garman, 1884

ปลาฉลามครุย (อังกฤษ: Frilled shark, ญี่ปุ่น: ラブカ) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างประหลาดมากคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในน้ำลึก 1,968 – 3,280 ฟุต

มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydoselachus anguineus ในอยู่ในวงศ์ Chlamydoselachidae เดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของญี่ปุ่น ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่ยุคครีเทเชียส จนกระทั่งถึงปัจจุบัน

ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2007 ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมงชาวญี่ปุ่นสามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมืองชิซุโอะกะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียว ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจากความร้อนที่ขึ้นสูงของอุณหภูมิของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็ตายไป[1]

เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้นอร์เวย์, แอฟริกาใต้, นิวซีแลนด์และชิลี มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหล มีผิวสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ และฟูกางออกเหมือนซาลาแมนเดอร์บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ปากกว้างเลยตำแหน่งของตา ภายในปากมีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 ฟุต

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA