ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนแมนตา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| trend = unknown
| trend = unknown
| image = Manta birostris-Thailand4.jpg
| image = Manta birostris-Thailand4.jpg
| image_caption = ปลากระเบนแมนตาที่[[หินแดง]]
| image_caption = ปลากระเบนแมนตามหาสมุทรที่[[หินแดง]]
| image_width = 250px
| image2 = P2140268_Manta_Ray.jpg
| image2_caption = ปลากระเบนแมนตาที่[[มัลดีฟส์]]
| regnum = [[Animalia]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
| phylum = [[Chordata]]
| classis = [[Chondrichthyes]]
| classis = [[Chondrichthyes]]
| subclassis = [[Elasmobranchii]]
| subclassis = [[Elasmobranchii]]
| fossil_range = {{Fossil range|23|0|ref=<ref>{{cite journal | last = Sepkoski | first = Jack | title = A compendium of fossil marine animal genera (Chondrichthyes entry) | journal = Bulletins of American Paleontology | volume = 364 | page = 560 | year = 2002 | url = http://strata.ummp.lsa.umich.edu/jack/showgenera.php?taxon=575&rank=class | id = | accessdate =9 January 2008 }}</ref>}} <small>ยุคต้น[[Miocene|ไมโอซีน]]-ปัจจุบัน</small>
| superordo = [[Batoidea]]
| superordo = [[Batoidea]]
| ordo = [[Myliobatiformes]]
| ordo = [[Myliobatiformes]]
| familia = [[Myliobatidae]]
| familia = [[Myliobatidae]]
| range_map = Cypron-Range Manta birostris.svg
| range_map = Cypron-Range Manta birostris.svg
| range_map_width = 250px
| range_map_caption = แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ทั่วโลก
| range_map_caption = แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ทั่วโลก
| genus = ''[[Manta]]''
| genus = '''''[[Manta]]'''''
| genus_authority = [[Bancroft]], [[ค.ศ. 1829|1829]]

| synonyms =
| species = '''''M. birostris'''''
| binomial = ''Manta birostris''
| binomial_authority = (Dondorff, [[ค.ศ. 1798|1798]])
| synonyms = *''Manta alfredi'' <small>(Krefft, [[ค.ศ. 1868|1868]])</small>
*''Manta hamiltoni'' <small>(Hamilton & Newman, 1849)</small>
*''Raja birostris'' <small>Donndorff, 1798</small>
}}
}}


'''ปลากระเบนแมนตา''' หรือ '''ปลากระเบนปีศาจ''' หรือ '''ปลากระเบนราหูแปซิฟิก''' ({{lang-en|Manta ray, Devil ray}}) เป็น[[ปลากระดูกอ่อน]]ชนิดหนึ่ง จัดเป็น[[ปลากระเบน]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 [[เมตร]] หรือ 22 [[ฟุต]] มี[[น้ำหนัก]]ได้ถึง 1,350 [[กิโลกรัม]] หรือ 3,000 [[ปอนด์]] อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ [[แนวปะการัง]]
'''ปลากระเบนแมนตา''' ({{lang-en|Manta ray}}) เป็น[[ปลากระดูกอ่อน]]ชนิดหนึ่ง จัดเป็น[[ปลากระเบน]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 [[เมตร]] หรือ 22 [[ฟุต]] มี[[น้ำหนัก]]ได้ถึง 1,350 [[กิโลกรัม]] หรือ 3,000 [[ปอนด์]] อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ [[แนวปะการัง]]


จัดอยู่ในสกุล ''Manta'' ใน[[วงศ์ปลากระเบนนก]] (Myliobatidae) เดิมทีแล้ว [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ของปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] [[Mobulidae]] แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก
โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่อยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนกระเบนทั่วไป


โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่อยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนปลากระเบนทั่วไป
ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว (ลักษณะดังกล่าวทำให้ปลากระเบนแมนตานี้มีอีกชื่อว่า ปลากระเบนปิศาจ) อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ [[เต่าหก]] ((''Manouria emys'')) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกิน[[แพลงก์ตอน]] และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ

ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ [[เต่าหก]] ((''Manouria emys'')) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกิน[[แพลงก์ตอน]] และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ
ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะ[[วิวัฒนาการ]]มาเป็นกรองกิน[[แพลงก์ตอน]]ตาม[[ทะเล]]เปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ
ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะ[[วิวัฒนาการ]]มาเป็นกรองกิน[[แพลงก์ตอน]]ตาม[[ทะเล]]เปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ
บรรทัด 44: บรรทัด 42:
โดยปกติแล้วกิน[[แพลงก์ตอน]], ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet)
โดยปกติแล้วกิน[[แพลงก์ตอน]], ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet)


ปลากระเบนแมนตา ถูกจำแนกออกเป็น 2 [[species|ชนิด]] เมื่อไม่นานมานี้ ได้แก่
ในเชิง[[อนุกรมวิธาน]]แล้ว ปลากระเบนแมนตายังมีการจัดจำแนกที่ไม่ชัดเจน โดยอาจแบ่งได้ถึง 3 [[สปีชีส์|ชนิด]]ที่มีการจัดนำแนกไว้ ได้แก่ ''Manta birostris, Manta ehrenbergii'' และ '' Manta raya'' โดยชนิดแรกสุดมีขนาดเล็กกว่า และสองชนิดหลังนั้นอาจเป็นเพียงประชากรที่แยกตัวกันมานานแสนนาน เดิมทีแล้ว [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ของปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] [[Mobulidae]] แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ [[Myliobatidae]] ซึ่งมี[[Aetobatus|ปลากระเบนนก]]เป็นปลาร่วมวงศ์


*[[ปลากระเบนแมนตามหาสมุทร]] (''Manta alfredi'')
สามารถถูกพบเห็นได้บ่อยตามแนวปะการังของ[[มหาสมุทรอินเดีย]] โดยเฉพาะหมู่เกาะ[[มัลดีฟส์]], [[หมู่เกาะสุรินทร์]] รวมไปถึง[[หมู่เกาะสิมิลัน]]ของไทย โดยเฉพาะ [[หินแดง]], [[เกาะบอน]], เกาะตอรินลา, และ[[เกาะตาชัย]] พบได้บ่อยในทางด้าน[[อ่าวไทย]]เช่นกัน เช่น หินใบ, [[เกาะพงัน]] และกองหินโลซินอันห่างไกล
*[[ปลากระเบนแมนตาแนวปะการัง]] (''Manta birostris''‎)

โดยมีความแตกต่างกันทางรูปร่างภายนอก และพฤติกรรมบางประการเล็กน้อย<ref>[http://marinemegafauna.org/mantarays/ MANTA RAY ECOLOGY AND BIOLOGY {{en}}]</ref>

ปลากระเบนแมนตาทั้ง 2 ชนิด สามารถถูกพบเห็นได้บ่อยตามแนวปะการังของ[[มหาสมุทรอินเดีย]] โดยเฉพาะหมู่เกาะ[[มัลดีฟส์]], [[หมู่เกาะสุรินทร์]] รวมไปถึง[[หมู่เกาะสิมิลัน]]ของไทย โดยเฉพาะ [[หินแดง]], [[เกาะบอน]], เกาะตอรินลา, และ[[เกาะตาชัย]] พบได้บ่อยในทางด้าน[[อ่าวไทย]]เช่นกัน เช่น หินใบ, [[เกาะพงัน]] และกองหินโลซินอันห่างไกล


ปลากระเบนแมนตาเป็นปลาอีกชนิดที่นักดำน้ำต้องการที่จะพบเห็นมากที่สุด ซึ่งมักจะถูกพูดถึงร่วมกับ[[ปลาฉลามวาฬ]] (''Rhincodon typus'') เสมอ
ปลากระเบนแมนตาเป็นปลาอีกชนิดที่นักดำน้ำต้องการที่จะพบเห็นมากที่สุด ซึ่งมักจะถูกพูดถึงร่วมกับ[[ปลาฉลามวาฬ]] (''Rhincodon typus'') เสมอ
บรรทัด 52: บรรทัด 55:
นอกจากนี้ ปลากระเบนแมนตายังเป็นปลากระเบนเพียงไม่กี่ชนิด ที่ไม่มีเงี่ยงพิษที่โคนหางเหมือนปลากระเบนชนิดอื่น ๆ<ref>[http://www.vivanatura.org/Manta%20birostris.html GIANT MANTA RAY {{en}}]</ref>
นอกจากนี้ ปลากระเบนแมนตายังเป็นปลากระเบนเพียงไม่กี่ชนิด ที่ไม่มีเงี่ยงพิษที่โคนหางเหมือนปลากระเบนชนิดอื่น ๆ<ref>[http://www.vivanatura.org/Manta%20birostris.html GIANT MANTA RAY {{en}}]</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[ปลากระเบน]]

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Manta birostris}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Manta (genus)|Manta}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://fishbase.mnhn.fr/Nomenclature/ScientificNameSearchList.php?crit1_fieldname=SYNONYMS.SynGenus&crit1_fieldtype=CHAR&crit1_operator=EQUAL&crit1_value=manta&crit2_fieldname=SYNONYMS.SynSpecies&crit2_fieldtype=CHAR&crit2_operator=contains&crit2_value=&group=summary&backstep=-2 จากFishbase.org {{en}}]
* [http://www.fishbase.org/summary/speciessummary.php%3Fid%3D2061&sa=U&ei=YwdsT53SN4qrrAeSzui5Ag&ved=0CDwQFjAJ&usg=AFQjCNHXALYbJO7LySdnD3HjJdvuBpsJJg จากFishbase.org {{en}}]
{{wikispecies-inline|Manta birostris}}
{{wikispecies-inline|Manta}}




บรรทัด 68: บรรทัด 68:
{{Link GA|cs}}
{{Link GA|cs}}


[[af:Manta]]
[[cs:Manta]]
[[bg:Манта]]
[[en:Manta Ray]]
[[ca:Manta gegant]]
[[cs:Manta obrovská]]
[[da:Djævlerokke]]
[[da:Djævlerokke]]
[[de:Riesenmanta]]
[[de:Mantarochen]]
[[en:Giant Oceanic Manta Ray]]
[[fr:Manta (genre)]]
[[es:Manta birostris]]
[[eu:Manta-arraia]]
[[fi:Paholaisrausku]]
[[fr:Raie manta]]
[[hu:Atlanti ördögrája]]
[[id:Ikan pari manta]]
[[it:Manta birostris]]
[[ja:オニイトマキエイ]]
[[jv:Iwak pari]]
[[kk:Манта]]
[[ko:쥐가오리]]
[[nl:Reuzenmanta]]
[[no:Djevelskate]]
[[nv:Łóóʼ adishishí ntsxaaígíí]]
[[pl:Manta (ryba)]]
[[pt:Jamanta]]
[[ru:Манта]]
[[simple:Manta ray]]
[[sv:Manta]]
[[tl:Dambuhalang page]]
[[tr:Deniz şeytanı]]
[[uk:Манта]]
[[vi:Cá nạng hải]]
[[zh:鬼蝠魟]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:09, 24 ธันวาคม 2555

สำหรับปลากระเบนราหูในน้ำจืด ดูที่: ปลากระเบนราหูน้ำจืด
ปลากระเบนแมนตา
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 23–0Ma[1] ยุคต้นไมโอซีน-ปัจจุบัน
ปลากระเบนแมนตามหาสมุทรที่หินแดง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับใหญ่: Batoidea
อันดับ: Myliobatiformes
วงศ์: Myliobatidae
สกุล: Manta
Bancroft, 1829
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ทั่วโลก

ปลากระเบนแมนตา (อังกฤษ: Manta ray) เป็นปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 เมตร หรือ 22 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 1,350 กิโลกรัม หรือ 3,000 ปอนด์ อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ แนวปะการัง

จัดอยู่ในสกุล Manta ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) เดิมทีแล้ว สกุลของปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ในวงศ์ Mobulidae แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก

โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่อยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนปลากระเบนทั่วไป

ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ เต่าหก ((Manouria emys)) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกินแพลงก์ตอน และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ

ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะวิวัฒนาการมาเป็นกรองกินแพลงก์ตอนตามทะเลเปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ

ลักษณะการกรองกินทำให้ฟันลดขนาดลงเป็นซี่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่แอบอยู่ใต้ผิว คล้ายกับปลากระเบนทั่วไป มีหางเป็นเส้นยาว แต่หากปราศจากเงี่ยงที่ส่วนหาง และเกล็ดแหลมหุ้มลำตัวก็มีขนาดเล็กลง แทนที่ด้วยเมือกหนาหุ้มร่างกาย ส่วนท่อน้ำออกมีขนาดเล็กและไม่ทำหน้าที่ น้ำทั้งหมดไหลเข้าสู่ปากแทน

เพื่อการว่ายน้ำที่ดี ปลากระเบนแมนตาวิวัฒนาการรูปร่างร่างกายให้เป็นสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด และมีการพัฒนาครีบให้คล้ายปีกสำหรับโบยบินในท้องทะเล ขนาดตัวยักษ์ใหญ่และความเร็วชนิดใกล้เคียงจรวด ทำให้ปลากระเบนแมนตามีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมาก โดยที่ศัตรูของปลากระเบนแมนตาในน่านน้ำไทยกลุ่มเดียว คือวาฬเพชรฆาต (Orcinus orca) และวาฬเพชรฆาตเทียม (Pseudorca crassidens) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแน่นอน

โดยปกติแล้วกินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet)

ปลากระเบนแมนตา ถูกจำแนกออกเป็น 2 ชนิด เมื่อไม่นานมานี้ ได้แก่

โดยมีความแตกต่างกันทางรูปร่างภายนอก และพฤติกรรมบางประการเล็กน้อย[3]

ปลากระเบนแมนตาทั้ง 2 ชนิด สามารถถูกพบเห็นได้บ่อยตามแนวปะการังของมหาสมุทรอินเดีย โดยเฉพาะหมู่เกาะมัลดีฟส์, หมู่เกาะสุรินทร์ รวมไปถึงหมู่เกาะสิมิลันของไทย โดยเฉพาะ หินแดง, เกาะบอน, เกาะตอรินลา, และเกาะตาชัย พบได้บ่อยในทางด้านอ่าวไทยเช่นกัน เช่น หินใบ, เกาะพงัน และกองหินโลซินอันห่างไกล

ปลากระเบนแมนตาเป็นปลาอีกชนิดที่นักดำน้ำต้องการที่จะพบเห็นมากที่สุด ซึ่งมักจะถูกพูดถึงร่วมกับปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus) เสมอ

นอกจากนี้ ปลากระเบนแมนตายังเป็นปลากระเบนเพียงไม่กี่ชนิด ที่ไม่มีเงี่ยงพิษที่โคนหางเหมือนปลากระเบนชนิดอื่น ๆ[4]

อ้างอิง

  1. Sepkoski, Jack (2002). "A compendium of fossil marine animal genera (Chondrichthyes entry)". Bulletins of American Paleontology. 364: 560. สืบค้นเมื่อ 9 January 2008.
  2. Manta birostris (อังกฤษ)
  3. MANTA RAY ECOLOGY AND BIOLOGY (อังกฤษ)
  4. GIANT MANTA RAY (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Manta ที่วิกิสปีชีส์ แม่แบบ:Link GA