ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเข้าถึงโดยสุ่ม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero ย้ายหน้า การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ไปยัง การเข้าถึงโดยสุ่ม: ศัพท์บัญญัติ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Random vs sequential access.svg|thumb|right|การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม เปรียบเทียบกับ[[การเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น]]]]
[[Image:Random vs sequential access.svg|thumb|right|การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม เปรียบเทียบกับ[[การเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น]]]]


ใน[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม''' ({{lang-en|random access}}) หรือ การเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) คือความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลใน[[ลำดับ]]ภายในเวลาที่เท่าๆกันสำหรับข้อมูลตัวใด ๆ ก็ตาม เวลาในการเข้าถึงข้อมูลนี้ไม่ขึ้นกับกับขนาดของลำดับด้วย ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มคือการอ่านข้อมูลจาก[[แผ่นซีดี]] ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลตำแหน่งใดๆได้ทันที
ใน[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''การเข้าถึงโดยสุ่ม''' ({{lang-en|random access}}) หรือ การเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) คือความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลใน[[ลำดับ]]ภายในเวลาที่เท่าๆกันสำหรับข้อมูลตัวใด ๆ ก็ตาม เวลาในการเข้าถึงข้อมูลนี้ไม่ขึ้นกับกับขนาดของลำดับด้วย ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือการอ่านข้อมูลจาก[[แผ่นซีดี]] ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลตำแหน่งใดๆได้ทันที


การเข้าถึงข้อมูลที่ตรงกันข้ามกับการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มคือ[[การเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น]] ซึ่งข้อมูลที่อยู่ไกลกว่าจะเสียเวลาในการเข้าถึงข้อมูลมากกว่า<ref>http://technet.microsoft.com/en-us/library/cc938619.aspx</ref> ตัวอย่างเช่นการอ่านข้อมูลจาก[[ตลับเทป]] ซึ่งต้องมีกรอเทปไปยังตำแหน่งที่ต้องการอ่านข้อมูล
การเข้าถึงข้อมูลที่ตรงกันข้ามกับการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือ[[การเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น]] ซึ่งข้อมูลที่อยู่ไกลกว่าจะเสียเวลาในการเข้าถึงข้อมูลมากกว่า<ref>http://technet.microsoft.com/en-us/library/cc938619.aspx</ref> ตัวอย่างเช่นการอ่านข้อมูลจาก[[ตลับเทป]] ซึ่งต้องมีกรอเทปไปยังตำแหน่งที่ต้องการอ่านข้อมูล


สำหรับ[[โครงสร้างข้อมูล]] ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มคือความสามารถในการเข้าถึง[[รายการ (โครงสร้างข้อมูล)|รายการ]]ได้ภายใน[[สัญกรณ์โอใหญ่|เวลาคงที่]] หรือ <math>O(1)</math> ซึ่งโครงสร้างข้อมูลที่เรียบง่ายที่สุดที่มีความสามารถนี้ก็คือ[[แถวลำดับ]] โครงสร้างข้อมูลที่เหลือที่มีความสามารถนี้ โดยมากแล้วก็จะมาจากการดัดแปลงแถวลำดับ เช่น [[แถวลำดับพลวัต]] อย่างไรก็ตาม การมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มก็ความหมายอีกนัยหนึ่งว่าที่อยู่ของหน่วยความจำต้องเรียงกันแบบมีแบบแผน ดังนั้นจึงทำให้โครงสร้างข้อมูลทั้งหลายที่มีความสามารถนี้ไม่สามารถเพิ่มข้อมูลกลางรายการได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางโครงสร้างข้อมูลเช่น[[รายการโยง]]แลกความสามารถในการเข้าถึงแบบสุ่มด้วยความสามารถในการเพิ่มและลบข้อมูลกลางรายการแทน
สำหรับ[[โครงสร้างข้อมูล]] ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือความสามารถในการเข้าถึง[[รายการ (โครงสร้างข้อมูล)|รายการ]]ได้ภายใน[[สัญกรณ์โอใหญ่|เวลาคงที่]] หรือ <math>O(1)</math> ซึ่งโครงสร้างข้อมูลที่เรียบง่ายที่สุดที่มีความสามารถนี้ก็คือ[[แถวลำดับ]] โครงสร้างข้อมูลที่เหลือที่มีความสามารถนี้ โดยมากแล้วก็จะมาจากการดัดแปลงแถวลำดับ เช่น [[แถวลำดับพลวัต]] อย่างไรก็ตาม การมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มก็ความหมายอีกนัยหนึ่งว่าที่อยู่ของหน่วยความจำต้องเรียงกันแบบมีแบบแผน ดังนั้นจึงทำให้โครงสร้างข้อมูลทั้งหลายที่มีความสามารถนี้ไม่สามารถเพิ่มข้อมูลกลางรายการได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางโครงสร้างข้อมูลเช่น[[รายการโยง]]แลกความสามารถในการเข้าถึงแบบสุ่มด้วยความสามารถในการเพิ่มและลบข้อมูลกลางรายการแทน


ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มมีความสำคัญมาก มี[[ขั้นตอนวิธี]]มากมายที่ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างข้อมูลที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม เช่น [[การค้นหาแบบทวิภาค]] [[ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ]] [[ตะแกรงเอราทอสเทนีส]] เป็นต้น
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มมีความสำคัญมาก มี[[ขั้นตอนวิธี]]มากมายที่ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างข้อมูลที่มีการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่ม เช่น [[การค้นหาแบบทวิภาค]] [[ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ]] [[ตะแกรงเอราทอสเทนีส]] เป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:19, 23 ธันวาคม 2555

การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม เปรียบเทียบกับการเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเข้าถึงโดยสุ่ม (อังกฤษ: random access) หรือ การเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) คือความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลในลำดับภายในเวลาที่เท่าๆกันสำหรับข้อมูลตัวใด ๆ ก็ตาม เวลาในการเข้าถึงข้อมูลนี้ไม่ขึ้นกับกับขนาดของลำดับด้วย ตัวอย่างของการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดี ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลตำแหน่งใดๆได้ทันที

การเข้าถึงข้อมูลที่ตรงกันข้ามกับการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือการเข้าถึงข้อมูลเชิงเส้น ซึ่งข้อมูลที่อยู่ไกลกว่าจะเสียเวลาในการเข้าถึงข้อมูลมากกว่า[1] ตัวอย่างเช่นการอ่านข้อมูลจากตลับเทป ซึ่งต้องมีกรอเทปไปยังตำแหน่งที่ต้องการอ่านข้อมูล

สำหรับโครงสร้างข้อมูล ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มคือความสามารถในการเข้าถึงรายการได้ภายในเวลาคงที่ หรือ ซึ่งโครงสร้างข้อมูลที่เรียบง่ายที่สุดที่มีความสามารถนี้ก็คือแถวลำดับ โครงสร้างข้อมูลที่เหลือที่มีความสามารถนี้ โดยมากแล้วก็จะมาจากการดัดแปลงแถวลำดับ เช่น แถวลำดับพลวัต อย่างไรก็ตาม การมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่มก็ความหมายอีกนัยหนึ่งว่าที่อยู่ของหน่วยความจำต้องเรียงกันแบบมีแบบแผน ดังนั้นจึงทำให้โครงสร้างข้อมูลทั้งหลายที่มีความสามารถนี้ไม่สามารถเพิ่มข้อมูลกลางรายการได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางโครงสร้างข้อมูลเช่นรายการโยงแลกความสามารถในการเข้าถึงแบบสุ่มด้วยความสามารถในการเพิ่มและลบข้อมูลกลางรายการแทน

ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มมีความสำคัญมาก มีขั้นตอนวิธีมากมายที่ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างข้อมูลที่มีการเข้าถึงข้อมูลโดยสุ่ม เช่น การค้นหาแบบทวิภาค ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ ตะแกรงเอราทอสเทนีส เป็นต้น

อ้างอิง