ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบญจธรรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== องค์ประกอบ ==
== องค์ประกอบ ==
เบญจธรรม 5 ประการ ได้แก่
เบญจธรรม 5 ประการ ได้แก่
# '''[[เมตตา]][[กรุณา]]''' คือความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่น# '''[[สัมมาอาชีวะ]]''' คือการประกอบสัมมาชีพ
# '''[[เมตตา]][[กรุณา]]''' คือความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่น<br />
# '''[[สัมมาอาชีวะ]]''' คือการประกอบสัมมาชีพ
# '''[[กามสังวร]] ''' คือการสำรวมในกาม
# '''[[กามสังวร]] ''' คือการสำรวมในกาม
# '''[[สัจจะ]]'''คือการพูดความจริงสใสใสใสใสใ
# '''[[สัจจะ]]'''คือการพูดความจริง
'''[[สติ]][[สัมปชัญญะ]]''' คือความระลึกได้และความรู้ตัว==อ้างอิง==
# '''[[สติ]][[สัมปชัญญะ]]''' คือความระลึกได้และความรู้ตัว==อ้างอิง==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:09, 22 ธันวาคม 2555

เบญจธรรม, ปัญจธรรม หรือ ธรรมห้า หมายถึง ข้อพึงปฏิบัติห้าประการตามคำสอนในพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติเจริญก้าวหน้า ปลอดเวร ปลอดภัย เพิ่มพูนความดีแก่ผู้ทำ

เบญธรรมเป็นข้อพึงปฏิบัติห้าประการ คู่กับ เบญจศีล อันเป็นข้อไม่พึงปฏิบัติห้าประการ

องค์ประกอบ

เบญจธรรม 5 ประการ ได้แก่

  1. เมตตากรุณา คือความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่น
  2. สัมมาอาชีวะ คือการประกอบสัมมาชีพ
  3. กามสังวร คือการสำรวมในกาม
  4. สัจจะคือการพูดความจริง
  5. สติสัมปชัญญะ คือความระลึกได้และความรู้ตัว==อ้างอิง==