ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะบูเว"

พิกัด: 54°25.8′S 3°22.8′E / 54.4300°S 3.3800°E / -54.4300; 3.3800
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Palmy U-U (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Palmy U-U (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
|common_name = Bouvet Island
|common_name = Bouvet Island
|image_flag = Flag of Norway.svg
|image_flag = Flag of Norway.svg
|image_map = Bouvet-Location.JPG
|image_map = Bouvet Island on the globe (Antarctica centered).svg
| map_caption = แผนที่แสดตำแหน่งของเกาะบูเวต (จุด[[สีชมพู]])
| map_caption = แผนที่แสดตำแหน่งของเกาะบูเว (วงกลม[[สีแดง]])
|latd=54 |latm=25.8 |latNS=S |longd=3 |longm=22.8 |longEW=E <!--Precision=0.6'/0.01deg-->
|latd=54 |latm=25.8 |latNS=S |longd=3 |longm=22.8 |longEW=E <!--Precision=0.6'/0.01deg-->
|government_type = [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
|government_type = [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:54, 3 ธันวาคม 2555

เกาะบูเว

Bouvetøya[1] (นอร์เวย์)
Bouvet-øya[2]
ธงชาติBouvet Island
ธงชาติ
แผนที่แสดตำแหน่งของเกาะบูเว (วงกลมสีแดง)
แผนที่แสดตำแหน่งของเกาะบูเว (วงกลมสีแดง)
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5
เยนส์ สตูลเทนแบร์ก
พื้นที่
• รวม
49 ตารางกิโลเมตร (19 ตารางไมล์)
93%
ประชากร
• 
ไม่มี
รหัส ISO 3166BV
โดเมนบนสุด.bv (ไม่ได้นำมาใช้)

เกาะบูเว (นอร์เวย์: Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก[3] ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด 54°25.8′S 3°22.8′E / 54.4300°S 3.3800°E / -54.4300; 3.3800 โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก[4][5] เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์)[5] เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม. โดยร้อยละ 93 ของเกาะปกคลุมด้วยธารน้ำแข็ง

เกาะบูเวถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1739 โดย Jean-Baptiste Charles Bouvet de Lozier ในระหว่างการเดินทางสำรวจในปี ค.ศ. 1898 และปี ค.ศ. 1920 และประเทศนอร์เวย์ปกครองเกาะบูเวในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1927 ตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1930[6] นอกจากนี้ประเทศนอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนควีนมอดแลนด์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยดินแดนด้วย[5]

ภูมิประเทศ

เกาะบูเวเป็นเกาะภูเขาไฟโดยมีหิมะและธารน้ำแข็งปกคลุมอยู่โดยมีพืชและสัตว์บางชนิดอาศัยอยู่ เช่น ไลเคน, นกเพนกวิน และแมวน้ำ[5]

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของเกาะบูเว
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 10.2
(50.4)
10.2
(50.4)
10.6
(51.1)
7.7
(45.9)
5.6
(42.1)
5.2
(41.4)
3.8
(38.8)
5.9
(42.6)
7.3
(45.1)
8.7
(47.7)
8.3
(46.9)
10.6
(51.1)
10.6
(51.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 3
(37)
4
(39)
3
(37)
2
(36)
1
(34)
0
(32)
-1
(30)
-1
(30)
-1
(30)
0
(32)
1
(34)
3
(37)
1.2
(34.1)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 1
(34)
1
(34)
1
(34)
0
(32)
-1
(30)
-2
(28)
-3
(27)
-3
(27)
-3
(27)
-2
(28)
-1
(30)
0
(32)
−1
(30.2)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 0
(32)
0
(32)
0
(32)
0
(32)
-2
(28)
-4
(25)
-5
(23)
-5
(23)
-5
(23)
-3
(27)
-2
(28)
-1
(30)
−2.3
(28)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -2.6
(27.3)
-2.2
(28)
-3.2
(26.2)
-4.7
(23.5)
-9.7
(14.5)
-10.2
(13.6)
-14.8
(5.4)
-15
(5)
-18.7
(-1.7)
-15.2
(4.6)
-8.4
(16.9)
-4.1
(24.6)
−18.7
(−1.7)
แหล่งที่มา: Climate-zone [7]

Meteostats [8]

อ้างอิง

  1. "Forskrift om fredning av Bouvetøya med tilliggende territorialfarvann som naturreservat" (ภาษานอร์เวย์). Lovdata. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2012. สืบค้นเมื่อ 9 May 2012. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Lov om Bouvet-øya, Peter I's øy og Dronning Maud Land m.m. (bilandsloven)" (ภาษานอร์เวย์). Lovdata. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2011. สืบค้นเมื่อ 29 August 2011. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. "เกาะ Bouvet เกาะไร้ผู้คน เกาะที่ไกลที่สุดในโลก". Kapook.com.
  4. "Bouvet Island" (ภาษาอังกฤษ). The Encyclopedia OF EARTH.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Bouvet Island, South Atlantic Ocean" (ภาษาอังกฤษ). NASA.
  6. "Bouvet Island" (ภาษาอังกฤษ). ENCYCLOPÆDIA Britannica Facts matter.
  7. "Monthly Averages for Bouvet Island". Climate Zone. สืบค้นเมื่อ 1 January 2011.
  8. "Bouvet Island". Meteostats.