ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supasate (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย
การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย

== ความเป็นมา ==
เหตุปะทะระหว่างสองชาติพันธุ์เกิดขึ้นอยู่เป็นช่วงๆ อยู่หลายครั้ง โดยมากเป็นการปะทะระหว่างชาวพุทธยะไข่ซึ่งเป็นคนส่วนมากกับชาวมุสลิมโรฮิงยาที่ซึ่งรัฐบาลพม่านับชาวโรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นผู้อพยพ จึงไม่มีสิทธิที่จะเป็นพลเมืองของประเทศ นักประวัติศาสตร์หลายคนบอกว่าชาวโรฮิงยานี้อยู่ที่นี่มาหลายศตวรรษแล้ว ในขณะที่นักประวัติศาสตร์อีกส่วนบอกว่าชาวโรฮิงยาเพิ่งปรากฏในแถบนี้ในช่วงศตวรรษที่ 19 เท่านั้น สหประชาชาตินับกลุ่มชาติพันธุ์โรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่ถูกกดขี่มากที่สุดในโลก นอกจากนี้ รองผู้อำนวยการแผนกเอเชียของฮิวแมนไรท์วอทช์ อีเลน เพียร์สัน ยังออกมากล่าวว่า "หลังจากหลายปีแห่งการกดขี่ ข่งเหง รังแก วันหนึ่งฟองสบู่นั้นจะแตกออก และนั่นคือสิ่งที่เรากำลังเห็นในขณะนี้"<ref>{{cite news| url=http://www.reuters.com/article/2012/06/11/uk-myanmar-violence-idUSLNE85A01C20120611 | title=Muslim, Buddhist mob violence threatens new Myanmar image | agency=Reuters | date=11 Jun 2012 | accessdate=12 June 2012}}</ref>

ในเย็นของวันที่ [[28 พฤษภาคม]] กลุ่มมุสลิมสามคน ซึ่งมีชาวโรฮิงยาสองคนอยู่ในนั้น ได้ทำการปล้นฆ่าข่มขืนหญิงชาวยะไข่ชื่อ Ma Thida Htwe ต่อมาตำรวจได้เข้าจับกุมผู้ต้องสงสัยทั้งสามแล้วส่งไปยังเรือนจำของเมืองยานบาย<ref>{{cite web| url=http://www.unhcr.org/refworld/country,,ICG,,IDN,,4fd85cdd2,0.html | title=Myanmar Conflict Alert: Preventing communal bloodshed and building better relations | publisher= International Crisis Group (ICG) | date=12 June 2012 | accessdate=29 September 2012 }}</ref> ในวันที่ 3 มิถุนายน<ref>{{cite web|url=http://elevenmyanmar.com/national/crime/241-30-arrested-for-killing-10-aboard-toungup-bus |title=30 arrested for killing 10 aboard Toungup bus |publisher=Elevenmyanmar.com |date=2012-07-05 |accessdate=2012-10-27}}</ref> ผู้ประท้วงได้ทำการโจมตีรถบัสคันหนึ่งเนื่องจากเชื่อว่าผู้ต้องสงสัยทั้งสามนั้นอยู่ในรถบัสนั้น<ref name="BBC relocate">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18392262 | title=UN decides to relocate staff from Myanmar's Rakhine state |publisher=BBC | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012}}</ref> ผลจากเหตุการณ์นั้นได้ทำให้ชาวมุสลิม 10 คนเสียชีวิต<ref name="BBC 1">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18368556 | title=Burma police clash with Muslim protesters in Maung Daw |publisher=BBC | date=9 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งเป็นผลให้เกิดการประท้วงจากกลุ่มมุสลิมชาวพม่าในย่างกุ้ง รัฐบาลตอบสนองโดยการตั้งรัฐมนตรีและผู้บัญชาการตำรวจอาวุโสเพื่อเป็นผู้นำในการสืบสวนเพื่อสืบหาสาเหตุและการยั่วยุที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์และดำเนินการทางกฎหมายต่อไป<ref>{{cite news | url=http://news.asiaone.com/News/AsiaOne%2BNews/Asia/Story/A1Story20120608-351252.html | title=Myanmar to probe Muslim deaths | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งนับถึงวันที่ 2 กรกฎาคม มีผู้ถูกจับไปแล้ว 30 คนเนื่องจากการฆ่าชาวมุสลิมทั้งสิบนี้<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/07/02/us-myanmar-violence-idUSBRE8610CE20120702 | title=Myanmar arrests 30 over killing of 10 Muslims | agency=Reuters | date=2 July 2012 | accessdate=15 July 2012}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 28 ตุลาคม 2555

เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555 เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์ยะไข่พุทธและมุสลิมโรฮิงยาทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า[1][2] เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่[3] สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนดการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่[4][5] ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน[6] ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว[7][8] มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่[9] กองทัพและตำรวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา[10]

การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย

ความเป็นมา

เหตุปะทะระหว่างสองชาติพันธุ์เกิดขึ้นอยู่เป็นช่วงๆ อยู่หลายครั้ง โดยมากเป็นการปะทะระหว่างชาวพุทธยะไข่ซึ่งเป็นคนส่วนมากกับชาวมุสลิมโรฮิงยาที่ซึ่งรัฐบาลพม่านับชาวโรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นผู้อพยพ จึงไม่มีสิทธิที่จะเป็นพลเมืองของประเทศ นักประวัติศาสตร์หลายคนบอกว่าชาวโรฮิงยานี้อยู่ที่นี่มาหลายศตวรรษแล้ว ในขณะที่นักประวัติศาสตร์อีกส่วนบอกว่าชาวโรฮิงยาเพิ่งปรากฏในแถบนี้ในช่วงศตวรรษที่ 19 เท่านั้น สหประชาชาตินับกลุ่มชาติพันธุ์โรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่ถูกกดขี่มากที่สุดในโลก นอกจากนี้ รองผู้อำนวยการแผนกเอเชียของฮิวแมนไรท์วอทช์ อีเลน เพียร์สัน ยังออกมากล่าวว่า "หลังจากหลายปีแห่งการกดขี่ ข่งเหง รังแก วันหนึ่งฟองสบู่นั้นจะแตกออก และนั่นคือสิ่งที่เรากำลังเห็นในขณะนี้"[11]

ในเย็นของวันที่ 28 พฤษภาคม กลุ่มมุสลิมสามคน ซึ่งมีชาวโรฮิงยาสองคนอยู่ในนั้น ได้ทำการปล้นฆ่าข่มขืนหญิงชาวยะไข่ชื่อ Ma Thida Htwe ต่อมาตำรวจได้เข้าจับกุมผู้ต้องสงสัยทั้งสามแล้วส่งไปยังเรือนจำของเมืองยานบาย[12] ในวันที่ 3 มิถุนายน[13] ผู้ประท้วงได้ทำการโจมตีรถบัสคันหนึ่งเนื่องจากเชื่อว่าผู้ต้องสงสัยทั้งสามนั้นอยู่ในรถบัสนั้น[14] ผลจากเหตุการณ์นั้นได้ทำให้ชาวมุสลิม 10 คนเสียชีวิต[15] ซึ่งเป็นผลให้เกิดการประท้วงจากกลุ่มมุสลิมชาวพม่าในย่างกุ้ง รัฐบาลตอบสนองโดยการตั้งรัฐมนตรีและผู้บัญชาการตำรวจอาวุโสเพื่อเป็นผู้นำในการสืบสวนเพื่อสืบหาสาเหตุและการยั่วยุที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์และดำเนินการทางกฎหมายต่อไป[16] ซึ่งนับถึงวันที่ 2 กรกฎาคม มีผู้ถูกจับไปแล้ว 30 คนเนื่องจากการฆ่าชาวมุสลิมทั้งสิบนี้[17]

อ้างอิง

  1. "Burma admits Rakhine destruction". BBC News. 27 October 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  2. Peter Beaumont (27 October 2012). "Burma's leader admits deadly attacks on Muslims". The Guardian. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  3. "Four killed as Rohingya Muslims riot in Myanmar: government". Reuters. 8 June 2012. สืบค้นเมื่อ 9 June 2012.
  4. Linn Htet (11 June 2012). "အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ". The Irrawaddy. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  5. Keane, Fergal (11 June 2012). "Old tensions bubble in Burma". BBC News Online. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  6. "Press Release". Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Foreign Affairs. 21 August 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 October 2012. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
  7. "Burma's ethnic clashes leave 90,000 in need of food, says UN". Toronto Star. 19 June 2012. สืบค้นเมื่อ 16 July 2012.
  8. "Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'". BBC News. 14 June 2012. สืบค้นเมื่อ 14 June 2012.
  9. "Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes". Associated Press. 15 Jun 2012. สืบค้นเมื่อ 16 June 2012.
  10. Hindstorm, Hanna (28 June 2012). "Burmese authorities targeting Rohingyas, UK parliament told". Democratic Voice of Burma. สืบค้นเมื่อ 9 July 2012.
  11. "Muslim, Buddhist mob violence threatens new Myanmar image". Reuters. 11 Jun 2012. สืบค้นเมื่อ 12 June 2012.
  12. "Myanmar Conflict Alert: Preventing communal bloodshed and building better relations". International Crisis Group (ICG). 12 June 2012. สืบค้นเมื่อ 29 September 2012.
  13. "30 arrested for killing 10 aboard Toungup bus". Elevenmyanmar.com. 2012-07-05. สืบค้นเมื่อ 2012-10-27.
  14. "UN decides to relocate staff from Myanmar's Rakhine state". BBC. 11 June 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  15. "Burma police clash with Muslim protesters in Maung Daw". BBC. 9 June 2012. สืบค้นเมื่อ 9 June 2012.
  16. "Myanmar to probe Muslim deaths". Reuters. 8 June 2012. สืบค้นเมื่อ 9 June 2012.
  17. "Myanmar arrests 30 over killing of 10 Muslims". Reuters. 2 July 2012. สืบค้นเมื่อ 15 July 2012.