ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''ปลากระเบน''' ({{lang-en|Stingray, Ray}}) หมายถึง [[ปลากระดูกอ่อน]]จำพวกหนึ่งที่อยู่ใน[[Elasmobranchii|ชั้นย่อยอีลาสโมแบรนชิไอ]] (Elasmobranchii) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batoidea หรือ Rajomorphii<ref>[http://www.painreliefchat.com/arthritis-pain-relief/Rajomorphii Ray (fish) {{en}}]</ref>
'''ปลากระเบน''' ({{lang-en|Stingray, Ray}}) หมายถึง [[ปลากระดูกอ่อน]]จำพวกหนึ่งที่อยู่ใน[[Elasmobranchii|ชั้นย่อยอีลาสโมแบรนชิไอ]] (Elasmobranchii) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batoidea หรือ Rajomorphii<ref>[http://www.painreliefchat.com/arthritis-pain-relief/Rajomorphii Ray (fish) {{en}}]</ref>


พบได้ทั้ง[[น้ำจืด]]สนิท [[น้ำกร่อย]] และ[[ทะเล]] มีรูปร่างแบนราบ มีท่อน้ำออก 1 คู่ อยู่ด้านหลังของหัว ซึ่งทำหน้าที่ให้น้ำผ่านเข้าทางเพื่อไหลเวียนผ่านเหงือกเพื่อการหายใจ ซึ่งจะไม่ไหลเวียนผ่านปากซึ่งอยู่ด้านล่างลำตัว เหมือนปลากระดูกอ่อนหรือ[[ปลากระดูกแข็ง]]จำพวกอื่น หากินบริเวณพื้นน้ำ
พบได้ทั้ง[[น้ำจืด]]สนิท [[น้ำกร่อย]] และ[[ทะเล]] มีรูปร่างแบนราบ มีท่อน้ำออก 1 คู่ อยู่ด้านหลังของหัว ซึ่งทำหน้าที่ให้น้ำผ่านเข้าทางเพื่อไหลเวียนผ่านเหงือกเพื่อการหายใจ ซึ่งจะไม่ไหลเวียนผ่านปากซึ่งอยู่ด้านล่างลำตัว เหมือนปลากระดูกอ่อนหรือ[[ปลากระดูกแข็ง]]จำพวกอื่น หากินบริเวณพื้นน้ำ ในปากไม่มีฟันแหลมคมเหมือน[[ปลาฉลาม]] ดังนั้นการกินอาหารจึงค่อยเป็นค่อยไป ด้วยการเคี้ยวอย่างช้า ๆ ซึ่งอาหารส่วนมากก็ได้แก่ [[หอย]], [[กุ้ง]], [[ปู]] หรือ[[ปลา]]ขนาดเล็กตามหน้าดิน เป็นส่วนใหญ่<ref>[http://www.laserworldaquarium.com/default.asp?content=spagedetail&cid=6793 ปลาฉนากแม่น้ำตัวสุดท้ายของไทย โดย [[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]]]</ref>


แบ่งออกได้เป็น 4 อันดับย่อย (ดูในตาราง) ซึ่งก็แบ่งออกได้เป็นหลาย[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]], หลาย[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ขนาดแตกต่างหลากหลายไปตามสกุลและชนิด กระจายไปตามเขตอบอุ่นทั่วโลก เช่น ใน[[วงศ์ปลากระเบนหางสั้น]] (Potamotrygonidae) มีหางสั้น รูปร่างกลมคล้ายจานข้าว ใน[[วงศ์ปลากระเบนธง]] (Dasyatidae) รูปร่างค่อนข้างกลม จะงอยปากแหลม หางยาวคล้ายแส้ มีเงี่ยงพิษที่โคนหาง 1-2 ชิ้น ที่เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกใหม่ได้ ในวงศ์ปลากระเบนไฟฟ้า (Narcinidae และ Torpedinidae) พบในทะเล มีขนาดเล็ก มีรูปร่างต่างไปจากกระเบนชนิดอื่น ๆ และสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อป้องกันตัวและล่าเหยื่อได้ด้วย <ref>{{cite book |editor=Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N.|author= Stevens, J. & Last, P.R.|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|page= 60|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>
แบ่งออกได้เป็น 4 อันดับย่อย (ดูในตาราง) ซึ่งก็แบ่งออกได้เป็นหลาย[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]], หลาย[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ขนาดแตกต่างหลากหลายไปตามสกุลและชนิด กระจายไปตามเขตอบอุ่นทั่วโลก เช่น ใน[[วงศ์ปลากระเบนหางสั้น]] (Potamotrygonidae) มีหางสั้น รูปร่างกลมคล้ายจานข้าว ใน[[วงศ์ปลากระเบนธง]] (Dasyatidae) รูปร่างค่อนข้างกลม จะงอยปากแหลม หางยาวคล้ายแส้ มีเงี่ยงพิษที่โคนหาง 1-2 ชิ้น ที่เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกใหม่ได้ ในวงศ์ปลากระเบนไฟฟ้า (Narcinidae และ Torpedinidae) พบในทะเล มีขนาดเล็ก มีรูปร่างต่างไปจากกระเบนชนิดอื่น ๆ และสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อป้องกันตัวและล่าเหยื่อได้ด้วย <ref>{{cite book |editor=Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N.|author= Stevens, J. & Last, P.R.|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|page= 60|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
*[[ปลาฉลาม]]
{{wikispecies|Rajomorphii}}

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies|Rajomorphii}}


[[หมวดหมู่:ปลาน้ำจืด|กระเบน]]
[[หมวดหมู่:ปลาน้ำจืด|กระเบน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:03, 25 ตุลาคม 2555

ปลากระเบน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ไทรแอสซิก-ปัจจุบัน
ภาพวาดของปลาในอันดับใหญ่ปลากระเบนหลายชนิด
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับใหญ่: Batoidea
อันดับย่อย
ชื่อพ้อง
  • Rajomorphii

ปลากระเบน (อังกฤษ: Stingray, Ray) หมายถึง ปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่งที่อยู่ในชั้นย่อยอีลาสโมแบรนชิไอ (Elasmobranchii) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batoidea หรือ Rajomorphii[1]

พบได้ทั้งน้ำจืดสนิท น้ำกร่อย และทะเล มีรูปร่างแบนราบ มีท่อน้ำออก 1 คู่ อยู่ด้านหลังของหัว ซึ่งทำหน้าที่ให้น้ำผ่านเข้าทางเพื่อไหลเวียนผ่านเหงือกเพื่อการหายใจ ซึ่งจะไม่ไหลเวียนผ่านปากซึ่งอยู่ด้านล่างลำตัว เหมือนปลากระดูกอ่อนหรือปลากระดูกแข็งจำพวกอื่น หากินบริเวณพื้นน้ำ ในปากไม่มีฟันแหลมคมเหมือนปลาฉลาม ดังนั้นการกินอาหารจึงค่อยเป็นค่อยไป ด้วยการเคี้ยวอย่างช้า ๆ ซึ่งอาหารส่วนมากก็ได้แก่ หอย, กุ้ง, ปู หรือปลาขนาดเล็กตามหน้าดิน เป็นส่วนใหญ่[2]

แบ่งออกได้เป็น 4 อันดับย่อย (ดูในตาราง) ซึ่งก็แบ่งออกได้เป็นหลายวงศ์, หลายสกุล ขนาดแตกต่างหลากหลายไปตามสกุลและชนิด กระจายไปตามเขตอบอุ่นทั่วโลก เช่น ในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) มีหางสั้น รูปร่างกลมคล้ายจานข้าว ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) รูปร่างค่อนข้างกลม จะงอยปากแหลม หางยาวคล้ายแส้ มีเงี่ยงพิษที่โคนหาง 1-2 ชิ้น ที่เมื่อหักไปแล้วสามารถงอกใหม่ได้ ในวงศ์ปลากระเบนไฟฟ้า (Narcinidae และ Torpedinidae) พบในทะเล มีขนาดเล็ก มีรูปร่างต่างไปจากกระเบนชนิดอื่น ๆ และสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อป้องกันตัวและล่าเหยื่อได้ด้วย [3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Ray (fish) (อังกฤษ)
  2. ปลาฉนากแม่น้ำตัวสุดท้ายของไทย โดย กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์
  3. Stevens, J. & Last, P.R. (1998). Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N. (บ.ก.). Encyclopedia of Fishes. San Diego: Academic Press. p. 60. ISBN 0-12-547665-5.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น