ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองภาษีเจริญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่ม == สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ ==
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ]]
[[ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ]]
'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี [[พ.ศ. 2415]]<ref>[http://dds.bangkok.go.th/Csd/canal_h14.htm "คลองอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี"]คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงรัตนโกสินทร์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2445 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"สำนักการจราจรและขนส่ง "]พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ
'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท <ref>[http://www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539315193&Ntype=5 "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ"] ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554 </ref> พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี [[พ.ศ. 2415]]<ref>[http://www.justythai.com/article?id=89454&lang=th "คลองภาษีเจริญ"]โดยเรไร ไพรวรรณ์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก <ref>[http://www.chanpradit.ac.th/~nattinee/parn296451/a.html "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ"] เขตภาษีเจริญ</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ "] โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://www.snr.ac.th/wita/kalamung/index13.html "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี"] แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[ เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]<ref>[http://www.samutsakhon.go.th/data/data_1/data_28.htm "ทรัพยากรน้ำในจังหวัดสมุทรสาคร"]</ref>
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[ เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]

{{coord|13|38|N|100|14|E|display=title|region:TH_type:river_source:GNS-enwiki}}
== สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ ==
* [[วัดปากน้ำภาษีเจริญ]]
* [[วัดโคนอน]]
* [[วัดรางบัว]]
* [[วัดนิมมานรดี]]
* [[วัดม่วง]]
* [[วัดหนองแขม]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
<references />
<references />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:32, 19 ตุลาคม 2555

ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg
คลองภาษีเจริญ

คลองภาษีเจริญ เริ่มต้นที่บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อมแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลดอนไก่ดี จังหวัดสมุทรสาคร รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท [1] พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415[2] ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก [3] ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง[4] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม[5] มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ในเขตภาษีเจริญ และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้านแม่น้ำท่าจีน คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขตเขตภาษีเจริญ เขตบางแค และเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร และอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ


อ้างอิง

  1. "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ" ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554
  2. "คลองภาษีเจริญ"โดยเรไร ไพรวรรณ์
  3. "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ" เขตภาษีเจริญ
  4. "พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ " โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
  5. "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี" แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี