ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวนอร์ส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: de:Grænlendingar is a good article
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


{{โครงประเทศ}}
{{โครงประเทศ}}
{{Link GA|de}}


[[da:Nordboerne]]
[[da:Nordboerne]]
[[de:Grænlendingar]]
[[de:Grænlendingar]]
[[en:Norsemen]]
[[en:Norsemen]]
[[ko:노르드인]]
[[es:Nórdico (pueblo)]]
[[es:Nórdico (pueblo)]]
[[gd:Lochlannach]]
[[gd:Lochlannach]]
[[it:Norsemen]]
[[it:Norsemen]]
[[ja:ノース人]]
[[ja:ノース人]]
[[ko:노르드인]]
[[no:Eirik Raudes kolonisering av Grønland]]
[[no:Eirik Raudes kolonisering av Grønland]]
[[sv:Nordmän]]
[[sv:Nordmän]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:31, 15 ตุลาคม 2555

แผนที่แสดงบริเวณการตั้งถิ่นฐานของไวกิงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 11 รวมทั้งบริเวณที่ปล้นสดมและค้าขายที่ส่วนใหญ่แทบจะแยกกันไม่ได้

ชาวนอร์ส (อังกฤษ: Norsemen) เป็นคำที่เคยใช้ในการเรียกกลุ่มชนทั้งกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเจอร์เมนิคเหนือ[1] (North Germanic language) เป็นภาษาแม่ (“นอร์ส” โดยเฉพาะหมายถึงภาษานอร์สโบราณที่เป็นสาขาของภาษากลุ่มเจอร์เมนิคเหนือของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน โดยเฉพาะภาษานอร์เวย์ ภาษาไอซแลนดิค ภาษาสวีเดนและภาษาเดนมาร์กแบบโบราณ)

“นอร์สเม็น” หมายความว่า “ผู้มาจากทางเหนือ” และเป็นคำที่ใช้สำหรับชนนอร์ดิคที่เดิมมาจากทางตอนไต้และตอนกลางของสแกนดิเนเวีย ชาวนอร์สได้ตั้งถิ่นฐานและอาณาบริเวณการปกครองในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งบางส่วนของหมู่เกาะฟาโร อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ รัสเซีย อิตาลี แคนาดา กรีนแลนด์ ฝรั่งเศส ยูเครน เอสโตเนีย ลัตเวีย และ เยอรมนี

“นอร์ส” และ “นอร์สเม็น” หมายถึงประชากรสแกนดิเนเวียของปลายคริสต์ศตวรรษ 8 ถึง 11 ส่วนคำว่า “นอร์มัน” ต่อมาหมายถึงผู้ที่ดั้งเดิมคือผู้มาจากทางเหนือที่ตั้งถิ่นฐานในนอร์มังดีในฝรั่งเศส ที่รับวัฒนธรรมและภาษาฝรั่งเศส คำว่า “Norse-Gaels” (เกลลิคต่างประเทศ) เป็นคำที่ใช้เรียก “นอร์ส” ที่มาจากไอร์แลนด์และสกอตแลนด์ผู้ยอมรับวัฒนธรรมเกลส์

ไวกิงเป็นคำทั่วไปที่ใช้สำหรับ “นอร์สเม็น” ในต้นสมัยกลางโดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงการปล้นสดมสำนักสงฆ์ต่างๆ ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์

อ้างอิง

  1. Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Language Family Trees Indo-European, Germanic, North. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Texas: SIL International

ดูเพิ่ม


แม่แบบ:Link GA