ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีวิทยุกระจายเสียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.4.236.187 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย นคเรศ
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


== สถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ==
== สถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ==
กิจการวิทยุจัดตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2469]] โดย [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] และมีพลเอก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] เสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ทรงจัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงทดลองขนาดเล็กขึ้นในวังเพื่อการค้นคว้าส่วนพระองค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 2471 ทรงสั่งเครื่องวิทยุกระจายเสียง จากต่างประเทศเข้ามา 1 เครื่อง ขนาด 200 วัตต์ ขนาดคลื่น 36.42 เมตร ซึ่งเป็นคลื่นสั้น ทำการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง ที่ตึกที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ปากคลองโอ่งอ่าง ถือว่าเป็นการส่งวิทยุกระจายเสียงครั้งแรกในประเทศไทย<ref>http://variety.mcot.net/inside.php?docid=1970&doctype=11</ref> นายกรัฐมนตรีภาคภูมิ
กิจการวิทยุจัดตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2469]] โดย [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] และมีพลเอก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] เสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ทรงจัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงทดลองขนาดเล็กขึ้นในวังเพื่อการค้นคว้าส่วนพระองค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 2471 ทรงสั่งเครื่องวิทยุกระจายเสียง จากต่างประเทศเข้ามา 1 เครื่อง ขนาด 200 วัตต์ ขนาดคลื่น 36.42 เมตร ซึ่งเป็นคลื่นสั้น ทำการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง ที่ตึกที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ปากคลองโอ่งอ่าง ถือว่าเป็นการส่งวิทยุกระจายเสียงครั้งแรกในประเทศไทย<ref>http://variety.mcot.net/inside.php?docid=1970&doctype=11</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:04, 12 ตุลาคม 2555

สถานีวิทยุกระจายเสียง เป็นสถานที่ของหน่วยงานมีทำหน้าที่สื่อสารการออกอากาศโดยคลื่นวิทยุ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละแห่ง

สถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

กิจการวิทยุจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย กรมไปรษณีย์โทรเลข และมีพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน เสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ทรงจัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงทดลองขนาดเล็กขึ้นในวังเพื่อการค้นคว้าส่วนพระองค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 2471 ทรงสั่งเครื่องวิทยุกระจายเสียง จากต่างประเทศเข้ามา 1 เครื่อง ขนาด 200 วัตต์ ขนาดคลื่น 36.42 เมตร ซึ่งเป็นคลื่นสั้น ทำการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง ที่ตึกที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ปากคลองโอ่งอ่าง ถือว่าเป็นการส่งวิทยุกระจายเสียงครั้งแรกในประเทศไทย[1]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. http://variety.mcot.net/inside.php?docid=1970&doctype=11