ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรขาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Montana Kiat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ไรขาวมีอวัยวะส่วนปากไม่ค่อยแข็งแรง เช่นในพริก พบไรขาวที่ส่วนยอดของต้นพริก โดยพบว่าการกินดูดกินน้ำเลี้ยงที่พื้นผิวของใบอ่อนด้านใต้ใบ และวงจรชีวติของไรขาวอยู่ที่พื้นผิวใบอ่อนด้านใต้ใบ พื้นผิวใต้ใบจะส่องแสงระยิบเมื่อนำมาส่องกระทบกับแสงอาทิตย์ จากนั้นจะพบว่าใบเริ่มมีสีเหลืองซีดเกิดอาการหงิก ขอบใบม้วนลง และเกิด[[necrosis]]ที่ยอดทำให้เกิดการแคระแกร็น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะพบไรขาวหรือไข่ของมัน ที่อยู่บนกิ่งไม้ ตาดอก ดอก และผลของพริก แต่ไม่พบอาการเสียหายใด
ไรขาวมีอวัยวะส่วนปากไม่ค่อยแข็งแรง เช่นในพริก พบไรขาวที่ส่วนยอดของต้นพริก โดยพบว่าการกินดูดกินน้ำเลี้ยงที่พื้นผิวของใบอ่อนด้านใต้ใบ และวงจรชีวติของไรขาวอยู่ที่พื้นผิวใบอ่อนด้านใต้ใบ พื้นผิวใต้ใบจะส่องแสงระยิบเมื่อนำมาส่องกระทบกับแสงอาทิตย์ จากนั้นจะพบว่าใบเริ่มมีสีเหลืองซีดเกิดอาการหงิก ขอบใบม้วนลง และเกิด[[necrosis]]ที่ยอดทำให้เกิดการแคระแกร็น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะพบไรขาวหรือไข่ของมัน ที่อยู่บนกิ่งไม้ ตาดอก ดอก และผลของพริก แต่ไม่พบอาการเสียหายใด
==วิธีการป้องกันและกำจัด==
==วิธีการป้องกันและกำจัด==
ตรวจดูไรขาวบนใบพืชตั้งแต่เริ่มปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าเริ่มตรวจพบให้รีบกำจัดโดยการใช้สารฆ่าเฉพาะไร อาจเป็นสารสกัดจากพืช สารเคมี<ref>[http://www.thaikasetsart.com/%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94/], สารกำจัดไร</ref> เช่น คลอโรเบนไซเลท หรือศัตรูทางชีวภาพของไรขาวเช่นไรตัวห้ำ
ตรวจดูไรขาวบนใบพืชตั้งแต่เริ่มปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าเริ่มตรวจพบให้รีบกำจัดโดยการใช้สารฆ่าเฉพาะไร อาจเป็นสารสกัดจากพืช สารเคมี<ref>[http://www.thaikasetsart.com/%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94/], สารกำจัดไร</ref> เช่น คลอโรเบนไซเลท หรือศัตรูทางชีวภาพของไรขาวเช่น[[ไรตัวห้ำ]]

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:28, 21 กันยายน 2555

ไรขาว[1]
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Arachnida
อันดับ: Acariformes
วงศ์: Tarsonemidae
สกุล: Polyphagotarsonemus
สปีชีส์: P.  latus
ชื่อทวินาม
Polyphagotarsonemus latus (Banks)

ไรขาว[2] ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Polyphagotarsonemus latus (Banks) (อังกฤษ: Board mite) มีขนาดเล็กสามารถมองเห็นไรขาวได้โดยการมองผ่านกล้องจุลทรรศน์ เป็นศัตรูพืชชีวภาพอย่างหนึ่ง มักพบระบาดหนักในฤดูฝนช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ทำให้เกิดการหยุดเจริญในพืช ได้แก่ พริก กะเพรา แตงกวา ส้มโอ ฯลฯ ส่งผลกระทบต่อพืชเศรษฐกิจจำนวนมาก

ลักษณะรูปร่างและโครงสร้าง

ไข่ เป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 94 ไมครอน กว้างประมาณ 69 ไมครอน โปร่งใส มีตุ่มเรียงเป็นแถว 6-7 แถวโดยรอบ ประมาณ 36-43 ตุ่ม ตัวอ่อนเกิดใหม่ เป็นรูปทรงรี มีสีขาวขุ่นคล้ายนม มีขา 3 คู่ มีส่วนท้ายลำตัวแหลมเรียกว่า tegula เมื่อเริ่มโตจะมีสีสว่างกว่าตอนเกิดใหม่ ระยะหยุดนิ่ง ยาวประมาณ 165 ไมครอน กว้าง 83 ไมครอน โปร่งใส กลางหลังมีรูป dumble เพศเมียตัวเต็มวัย มีขา 4 คู่ เป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 200 ไมครอน มีลำตัวตอนท้ายกว้าง โปร่งใสเมื่ออายุมากขึ้นจะเริ่มมีสีเหลืองค่อยๆเข้มขึ้น มีแถบกลางหลัง เพศผู้ตัวเต็มวัย มีขา 4 คู่ เป็นรูปทรงรี ยาวประมาณ 175 ไมครอน กว้างประมาณ 93 ไมครอน โดยทั่วไปเพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้

ลักษณะความเสียหาย[3]

ไรขาวมีอวัยวะส่วนปากไม่ค่อยแข็งแรง เช่นในพริก พบไรขาวที่ส่วนยอดของต้นพริก โดยพบว่าการกินดูดกินน้ำเลี้ยงที่พื้นผิวของใบอ่อนด้านใต้ใบ และวงจรชีวติของไรขาวอยู่ที่พื้นผิวใบอ่อนด้านใต้ใบ พื้นผิวใต้ใบจะส่องแสงระยิบเมื่อนำมาส่องกระทบกับแสงอาทิตย์ จากนั้นจะพบว่าใบเริ่มมีสีเหลืองซีดเกิดอาการหงิก ขอบใบม้วนลง และเกิดnecrosisที่ยอดทำให้เกิดการแคระแกร็น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะพบไรขาวหรือไข่ของมัน ที่อยู่บนกิ่งไม้ ตาดอก ดอก และผลของพริก แต่ไม่พบอาการเสียหายใด

วิธีการป้องกันและกำจัด

ตรวจดูไรขาวบนใบพืชตั้งแต่เริ่มปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าเริ่มตรวจพบให้รีบกำจัดโดยการใช้สารฆ่าเฉพาะไร อาจเป็นสารสกัดจากพืช สารเคมี[4] เช่น คลอโรเบนไซเลท หรือศัตรูทางชีวภาพของไรขาวเช่นไรตัวห้ำ

อ้างอิง

  1. [1], รูปไรขาว
  2. [2],ไรขาว
  3. [3], ลักษณะความเสียหาย
  4. [4], สารกำจัดไร