ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กณิกนันต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: eo:Senfinecono, hy:Անվերջ փոքր แก้ไข: ru:Бесконечно малое
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[de:Infinitesimalzahl]]
[[de:Infinitesimalzahl]]
[[en:Infinitesimal]]
[[en:Infinitesimal]]
[[eo:Senfinecono]]
[[es:Infinitesimal]]
[[es:Infinitesimal]]
[[fi:Infinitesimaali]]
[[fi:Infinitesimaali]]
บรรทัด 37: บรรทัด 38:
[[gl:Infinitesimal]]
[[gl:Infinitesimal]]
[[he:אינפיניטסימל]]
[[he:אינפיניטסימל]]
[[hy:Անվերջ փոքր]]
[[it:Infinitesimo]]
[[it:Infinitesimo]]
[[ja:無限小]]
[[ja:無限小]]
บรรทัด 44: บรรทัด 46:
[[pt:Infinitesimal]]
[[pt:Infinitesimal]]
[[ro:Infinitezimal]]
[[ro:Infinitezimal]]
[[ru:Бесконечно малая и бесконечно большая]]
[[ru:Бесконечно малое]]
[[sl:Infinitezimala]]
[[sl:Infinitezimala]]
[[sq:Infinitezimale]]
[[sq:Infinitezimale]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:56, 21 กันยายน 2555

กณิกนันต์ (อังกฤษ: Infinitesimals) คือคำศัพท์ใช้อธิบายแนวคิดของวัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆ จนไม่สามารถมองเห็นหรือตรวจวัดได้ ถ้ากล่าวโดยทั่วไป วัตถุกณิกนันต์คือวัตถุที่มีขนาดเล็กจนไม่สามารถหาวิธีตรวจวัดได้ แต่ก็ไม่ได้เป็นศูนย์ มันเล็กมากจนยากจะแยกจากศูนย์ได้ด้วยวิธีการใดๆ ที่มีอยู่

ผู้ก่อตั้งแคลคูลัสกณิกนันต์ ได้แก่ แฟร์มาต์, ไลบ์นิซ, นิวตัน, ออยเลอร์, คอชี และคนอื่นๆ ได้ทำการคำนวณด้วยแนวคิดกณิกนันต์และสามารถหาผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้สำเร็จ

ประวัติของกณิกนันต์

ก่อนหน้านี้เคยมีการตั้งข้อสังเกตและอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนที่เล็กมากๆ โดยสำนักศึกษาเอเลียทิคส์ แต่อาร์คิมิดีสเป็นคนแรกที่เสนอคำนิยามที่มีตรรกะอย่างจริงจังในงานเขียนเรื่อง ระเบียบวิธีเกี่ยวกับทฤษฎีบทกลศาสตร์[1] จากคุณสมบัติแบบอาร์คิมิดีส นิยามไว้ว่า จำนวน x จะเป็นจำนวนอนันต์ถ้าสอดคล้องตามเงื่อนไข |x|>1, |x|>1+1, |x|>1+1+1, ... และจะเป็นจำนวนกณิกนันต์ถ้า x≠0 เงื่อนไขคล้ายคลึงกันนี้ใช้ได้กับ 1/x และจำนวนเต็มที่เป็นส่วนกลับด้วย ระบบจำนวนเช่นนี้กล่าวว่ามีคุณสมบัติแบบอาร์คิมิดีสถ้ามันไม่มีสมาชิกที่เป็นจำนวนอนันต์หรือจำนวนกณิกนันต์เลย ในระบบคณิตศาสตร์ของกรีกโบราณ 1 เป็นตัวแทนของความยาวช่วงหนึ่ง ใช้เป็นหน่วยนับอย่างไม่เป็นทางการนัก

นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย Bhāskara II (1114–1185)[2][ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง] และชาวเปอร์เซีย Sharaf al-Dīn al-Tūsī (1135-1213)[3][4][ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง] ได้นำค่ากณิกนันต์มาใช้ประโยชน์ เมื่อต่างก็ค้นพบหลักการสำคัญของอนุพันธ์ (derivative) นอกจากนี้ โรงเรียนดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์ Kerala ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ได้นำเอาคุณสมบัติสำคัญของลิมิตมาใช้เพื่อคำนวณการขยายตัวของอนุกรมหลายชนิด[5]

อ้างอิง

  1. Archimedes, The Method of Mechanical Theorems; see Archimedes Palimpsest
  2. Shukla, Kripa Shankar (1984). "Use of Calculus in Hindu Mathematics". Indian Journal of History of Science. 19: 95–104. {{cite journal}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  3. Rashed, Roshdi; Armstrong, Angela (1994). The Development of Arabic Mathematics. Springer. pp. 342–3. ISBN 0792325656.{{cite book}}: CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  4. J. L. Berggren (1990). "Innovation and Tradition in Sharaf al-Din al-Tusi's Muadalat", Journal of the American Oriental Society 110 (2), p. 304-309.
  5. Roy, Ranjan. 1990. "Discovery of the Series Formula for by Leibniz, Gregory, and Nilakantha." Mathematics Magazine (Mathematical Association of America) 63(5):291-306.