ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานฝังประดับแบบคอสมาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ca:Cosmatesc
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
“งานฝังประดับแบบคอสมาติ” เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม”<ref>Ayuela, Paloma Pajares (April 1, 2002). ''Cosmatesque Ornament''. W. W. Norton & Company. ISBN 0-393-73037-9. Page 30.</ref> ความหมายของคำนี้และความแตกต่างจาก “[[งานฝังประดับวัสดุ]]” ก็มีความแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างก็กล่าวว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม” เป็นงานที่จำกัดอยู่กับการออกแบบงานขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในการตกแต่งพื้น โดยใช้[[guilloche|การแกะลายชิลลอช]] (Guilloché) สีขาวแต่งเป็นโค้งกลมและแถบเป็นสีที่ประดับด้วยหินอ่อนที่ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ<ref>Fawcett, Jane, ''Historic floors: their history and conservation'', Butterworth-Heinemann, 1998, ISBN 0750627654, 9780750627658, [http://books.google.co.uk/books?id=BLmUOhBgmawC&pg=PA15&lpg=PA15&dq=Laurentius+of+Anagni&source=bl&ots=rbtYcv5ZYf&sig=bxfu4KabhbniH2in8AhNhmHAabs&hl=en&ei=catvSqizDZ3SjAffyfCZBQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=9 Google books]</ref> แต่บ้างก็รวมลวดลายเรขาคณิตต่างๆ เข้าไปด้วย ที่รวมทั้งการใช้วัสดุชิ้นใหญ่ด้วย เช่นที่ใช้ในการตกแต่งพื้นที่[[Spoleto Cathedral|มหาวิหารสโปเลตโต]] และ “[[งานฝังประดับวัสดุ]]” จะรวมทั้งการประดับที่เป็นรูปลักษณ์โดยใช้กรรมวิธีเดียวกัน
“งานฝังประดับแบบคอสมาติ” เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม”<ref>Ayuela, Paloma Pajares (April 1, 2002). ''Cosmatesque Ornament''. W. W. Norton & Company. ISBN 0-393-73037-9. Page 30.</ref> ความหมายของคำนี้และความแตกต่างจาก “[[งานฝังประดับวัสดุ]]” ก็มีความแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างก็กล่าวว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม” เป็นงานที่จำกัดอยู่กับการออกแบบงานขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในการตกแต่งพื้น โดยใช้[[guilloche|การแกะลายชิลลอช]] (Guilloché) สีขาวแต่งเป็นโค้งกลมและแถบเป็นสีที่ประดับด้วยหินอ่อนที่ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ<ref>Fawcett, Jane, ''Historic floors: their history and conservation'', Butterworth-Heinemann, 1998, ISBN 0750627654, 9780750627658, [http://books.google.co.uk/books?id=BLmUOhBgmawC&pg=PA15&lpg=PA15&dq=Laurentius+of+Anagni&source=bl&ots=rbtYcv5ZYf&sig=bxfu4KabhbniH2in8AhNhmHAabs&hl=en&ei=catvSqizDZ3SjAffyfCZBQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=9 Google books]</ref> แต่บ้างก็รวมลวดลายเรขาคณิตต่างๆ เข้าไปด้วย ที่รวมทั้งการใช้วัสดุชิ้นใหญ่ด้วย เช่นที่ใช้ในการตกแต่งพื้นที่[[Spoleto Cathedral|มหาวิหารสโปเลตโต]] และ “[[งานฝังประดับวัสดุ]]” จะรวมทั้งการประดับที่เป็นรูปลักษณ์โดยใช้กรรมวิธีเดียวกัน


ฉนั้นงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมจึงเป็นประเภทของ[[งานฝังประดับวัสดุ]]แต่ใช้สีน้อยกว่า เช่นใช้แต่เพียงสีขาวดำ หรือสีเขียวเข้มบนพื้นหลังสีแดง หรือ กลับกัน คำนี้ใช้ในความหมายเฉพาะที่หมายถึงโมเสกที่เป็นลวยลายเรขาคณิตที่จะเป็นงานที่ประกอบกับแผ่นหินอ่อนชิ้นใหญ่ ที่ใช้สร้างเป็นพื้นคริสต์ศาสนสถานโรมันในยุคกลางกันมาก หรือแม้แต่ต่อมาในสมัย[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] ตัวอย่างเช่นพื้นใน[[ชาเปลซิสติน]] และใน[[ห้องราฟาเอล#ห้องเซนยาทูรา|ห้องเซนยาทูรา]] งานคอสมาติที่มักจะเกี่ยวพันกับพื้นของงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมเป็นงานที่มาจากชื่อของตระกูล[[คอสมาติ]]ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับการสร้างงานโมเสกที่รุ่งเรืองอยู่ในกรุงโรมระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของงานคอสมาติคือเป็นการฝังประดับที่ใช้ทั้งแก้วและหินอ่อนรวมกัน การฝังประดับบางครั้งก็จะทำบน[[architrave|บัวปิดแนววงกบ]]ของประตู, บน[[frieze|แถบประดับชายคา]]ของ[[ระเบียงคด]], [[Fluting (architecture)|ลายร่องขลุ่ย]]ของคอลัมน์ และ อนุสรณ์ผู้ตาย นอกจากนั้นก็ยังใช้ในการล้อมกรอบ[[Porphyry (geology)|หินเนื้อดอก]] หรือหินอ่อนอื่นๆ บน[[แท่นเทศน์]], [[อาสนะสังฆราช|อาสนะ]], ฉาก และอื่นๆ หรือบางครั้งตัวงานเองก็อาจจะใช้เป็นฉากก็ได้ สีที่ใช้ก็จะเป็นสีสรรค์ที่สดใส — ชิ้นทองเทสเซรา (Tessera) จะนิยมใช้กันมากโดยเฉพาะในโรม แต่ก็มีที่ใช้ที่อื่นด้วยเช่นที่[[Cappella Palatina|ชาเปลพาลาทินา]]ที่[[Palermo|พาแลร์โม]] แต่ความเกี่ยวข้องกันกับศิลปะทางตอนใต้ของซิซิลียังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่นอน<ref>excerpted from ''A dictionary of architecture and building, biographical, historical, and descriptive'' by [[Russell Sturgis]] (1836-1909), published 1901 and out of copyright [http://www.archive.org/details/adictionaryarch02sturgoog]</ref>
ฉะนั้นงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมจึงเป็นประเภทของ[[งานฝังประดับวัสดุ]]แต่ใช้สีน้อยกว่า เช่นใช้แต่เพียงสีขาวดำ หรือสีเขียวเข้มบนพื้นหลังสีแดง หรือ กลับกัน คำนี้ใช้ในความหมายเฉพาะที่หมายถึงโมเสกที่เป็นลวยลายเรขาคณิตที่จะเป็นงานที่ประกอบกับแผ่นหินอ่อนชิ้นใหญ่ ที่ใช้สร้างเป็นพื้นคริสต์ศาสนสถานโรมันในยุคกลางกันมาก หรือแม้แต่ต่อมาในสมัย[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] ตัวอย่างเช่นพื้นใน[[ชาเปลซิสติน]] และใน[[ห้องราฟาเอล#ห้องเซนยาทูรา|ห้องเซนยาทูรา]] งานคอสมาติที่มักจะเกี่ยวพันกับพื้นของงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมเป็นงานที่มาจากชื่อของตระกูล[[คอสมาติ]]ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับการสร้างงานโมเสกที่รุ่งเรืองอยู่ในกรุงโรมระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของงานคอสมาติคือเป็นการฝังประดับที่ใช้ทั้งแก้วและหินอ่อนรวมกัน การฝังประดับบางครั้งก็จะทำบน[[architrave|บัวปิดแนววงกบ]]ของประตู, บน[[frieze|แถบประดับชายคา]]ของ[[ระเบียงคด]], [[Fluting (architecture)|ลายร่องขลุ่ย]]ของคอลัมน์ และ อนุสรณ์ผู้ตาย นอกจากนั้นก็ยังใช้ในการล้อมกรอบ[[Porphyry (geology)|หินเนื้อดอก]] หรือหินอ่อนอื่นๆ บน[[แท่นเทศน์]], [[อาสนะสังฆราช|อาสนะ]], ฉาก และอื่นๆ หรือบางครั้งตัวงานเองก็อาจจะใช้เป็นฉากก็ได้ สีที่ใช้ก็จะเป็นสีสรรค์ที่สดใส — ชิ้นทองเทสเซรา (Tessera) จะนิยมใช้กันมากโดยเฉพาะในโรม แต่ก็มีที่ใช้ที่อื่นด้วยเช่นที่[[Cappella Palatina|ชาเปลพาลาทินา]]ที่[[Palermo|พาแลร์โม]] แต่ความเกี่ยวข้องกันกับศิลปะทางตอนใต้ของซิซิลียังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่นอน<ref>excerpted from ''A dictionary of architecture and building, biographical, historical, and descriptive'' by [[Russell Sturgis]] (1836-1909), published 1901 and out of copyright [http://www.archive.org/details/adictionaryarch02sturgoog]</ref>


==ระเบียงภาพ==
==ระเบียงภาพ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:05, 8 กันยายน 2555

งานฝังประดับแบบคอสมาติ
Cosmatesque / Opus alexandrinum

“งานฝังประดับแบบคอสมาติ” ที่วัดซานตามาเรียอัสซันตา, ลูญาโนอินเทเวรินา, อิตาลี
ลายคอสมาติที่ใช้กันทั่วไปบนพื้นที่มหาวิหารแทร์ราชินา

งานฝังประดับแบบคอสมาติ หรือ ลายคอสมาติ หรือ งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม (อังกฤษ: Cosmatesque หรือ opus alexandrinum) เป็นลักษณะงานโมเสก[1]บนพื้นที่เป็นลวดลายเรขาคณิตที่นิยมทำกันในยุคกลางในอิตาลี โดยเฉพาะในกรุงโรมและปริมณฑล ชื่อของลักษณะลวดลายมาจากชื่อ “คอสมาติ” ซึ่งเป็นตระกูลช่างหัตถกรรมหินอ่อนชั้นนำของกรุงโรมผู้สร้างงานในลักษณะดังกล่าว ลักษณะลวดลายเผยแพร่ไปทั่วยุโรปในการใช้ตกแต่งคริสต์ศาสนสถานระดับสูง เช่นในการตกแต่งแท่นบูชาเอกในแอบบีเวสต์มินสเตอร์ เป็นต้นที่ตกแต่งพื้นหินอ่อนเป็นลายคอสมาติ

งานฝังประดับแบบอเล็กซานดรินัม

“งานฝังประดับแบบคอสมาติ” เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม”[2] ความหมายของคำนี้และความแตกต่างจาก “งานฝังประดับวัสดุ” ก็มีความแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างก็กล่าวว่า “งานฝังประดับอเล็กซานดรินัม” เป็นงานที่จำกัดอยู่กับการออกแบบงานขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในการตกแต่งพื้น โดยใช้การแกะลายชิลลอช (Guilloché) สีขาวแต่งเป็นโค้งกลมและแถบเป็นสีที่ประดับด้วยหินอ่อนที่ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ[3] แต่บ้างก็รวมลวดลายเรขาคณิตต่างๆ เข้าไปด้วย ที่รวมทั้งการใช้วัสดุชิ้นใหญ่ด้วย เช่นที่ใช้ในการตกแต่งพื้นที่มหาวิหารสโปเลตโต และ “งานฝังประดับวัสดุ” จะรวมทั้งการประดับที่เป็นรูปลักษณ์โดยใช้กรรมวิธีเดียวกัน

ฉะนั้นงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมจึงเป็นประเภทของงานฝังประดับวัสดุแต่ใช้สีน้อยกว่า เช่นใช้แต่เพียงสีขาวดำ หรือสีเขียวเข้มบนพื้นหลังสีแดง หรือ กลับกัน คำนี้ใช้ในความหมายเฉพาะที่หมายถึงโมเสกที่เป็นลวยลายเรขาคณิตที่จะเป็นงานที่ประกอบกับแผ่นหินอ่อนชิ้นใหญ่ ที่ใช้สร้างเป็นพื้นคริสต์ศาสนสถานโรมันในยุคกลางกันมาก หรือแม้แต่ต่อมาในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ตัวอย่างเช่นพื้นในชาเปลซิสติน และในห้องเซนยาทูรา งานคอสมาติที่มักจะเกี่ยวพันกับพื้นของงานฝังประดับอเล็กซานดรินัมเป็นงานที่มาจากชื่อของตระกูลคอสมาติที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับการสร้างงานโมเสกที่รุ่งเรืองอยู่ในกรุงโรมระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของงานคอสมาติคือเป็นการฝังประดับที่ใช้ทั้งแก้วและหินอ่อนรวมกัน การฝังประดับบางครั้งก็จะทำบนบัวปิดแนววงกบของประตู, บนแถบประดับชายคาของระเบียงคด, ลายร่องขลุ่ยของคอลัมน์ และ อนุสรณ์ผู้ตาย นอกจากนั้นก็ยังใช้ในการล้อมกรอบหินเนื้อดอก หรือหินอ่อนอื่นๆ บนแท่นเทศน์, อาสนะ, ฉาก และอื่นๆ หรือบางครั้งตัวงานเองก็อาจจะใช้เป็นฉากก็ได้ สีที่ใช้ก็จะเป็นสีสรรค์ที่สดใส — ชิ้นทองเทสเซรา (Tessera) จะนิยมใช้กันมากโดยเฉพาะในโรม แต่ก็มีที่ใช้ที่อื่นด้วยเช่นที่ชาเปลพาลาทินาที่พาแลร์โม แต่ความเกี่ยวข้องกันกับศิลปะทางตอนใต้ของซิซิลียังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่นอน[4]

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
  2. Ayuela, Paloma Pajares (April 1, 2002). Cosmatesque Ornament. W. W. Norton & Company. ISBN 0-393-73037-9. Page 30.
  3. Fawcett, Jane, Historic floors: their history and conservation, Butterworth-Heinemann, 1998, ISBN 0750627654, 9780750627658, Google books
  4. excerpted from A dictionary of architecture and building, biographical, historical, and descriptive by Russell Sturgis (1836-1909), published 1901 and out of copyright [1]

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ งานฝังประดับแบบคอสมาติ