ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำลายป่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
# การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ – ลักษณะการบุกรุกป่าแบบนี้จะพบได้ทั่วไปในเขต[[ภาคกลาง]] [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ภาคตะวันออก]] มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่[[ข้าวโพด]] [[มันสำปะหลัง]] หรือ[[ปอ]] เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่อย่างกว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย
# การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ – ลักษณะการบุกรุกป่าแบบนี้จะพบได้ทั่วไปในเขต[[ภาคกลาง]] [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ภาคตะวันออก]] มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่[[ข้าวโพด]] [[มันสำปะหลัง]] หรือ[[ปอ]] เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่อย่างกว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย
# การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทำลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทำกินของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ
# การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทำลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทำกินของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ
# [[ไฟป่า]] – ไฟป่าเกิดขึ้นได้จากการกระทำของมนุษย์และเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ผลจากไฟไหม้ป่าจะทำลายเศษไม้ ใบไม้ ลูกไม้ เมล็ดไม้ สัตว์และแมลง แม้กระทั้งต้นไม้ในป่าไปพร้อมกัน ทำให้ผิวดินในป่าที่ถูกไฟไหม้แข็ง ขาดคุณภาพในการดูดซึมและซับน้ำ จึงทำให้เกิด Surface runoff มากเมื่อฝนตก เมื่อ Surface runoff มาก น้ำฝนที่ตกลงมาจึงไหลบ่าและท่วมท้นฝั่งลำห้วย นอกจากนี้ยังทำให้เกิดการกัดเซาะตามลำน้ำ ทำให้น้ำขุ่น ผิวหน้าดินบริเวณเดิมก็จะขาดความโอชะไป น้ำพัดพาเอาตะกอนไปท่วมไร่นา พืชผลเสียหาย ป็นการเพิ่มความเสียหายแก่ทรัพย์สินและพืชผลเป็นทวีคูณ
# [[ไฟป่า]] – ไฟป่าเกิดขึ้นได้จากการกระทำของมนุษย์และเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ผลจากไฟไหม้ป่าจะทำลายเศษไม้ ใบไม้ ลูกไม้ เมล็ดไม้ สัตว์และแมลง แม้กระทั้งต้นไม้ในป่าไปพร้อมกัน ทำให้ผิวดินในป่าที่ถูกไฟไหม้แข็ง ขาดคุณภาพในการดูดซึมและซับน้ำ จึงทำให้เกิด [[น้ำไหลบ่าหน้าดิน]] ([[:en:Surface runoff|surface runoff]]) มากเมื่อฝนตก เมื่อน้ำไหลบ่าหน้าดินมาก น้ำฝนที่ตกลงมาจะท่วมท้นฝั่งลำห้วย นอกจากนี้ยังทำให้เกิดการกัดเซาะตามลำน้ำ ทำให้น้ำขุ่น ผิวหน้าดินบริเวณเดิมก็จะขาดความโอชะไป น้ำพัดพาเอาตะกอนไปท่วมไร่นา พืชผลเสียหาย ป็นการเพิ่มความเสียหายแก่ทรัพย์สินและพืชผลเป็นทวีคูณ
# การทำไม้ออกเกินกำลังของป่า
# การทำไม้ออกเกินกำลังของป่า
# การทำเหมืองเปิด (Stripped Mining) – การทำลายป่ารูปแบบนี้นับว่าร้ายแรงมาก มีการเปิดหน้าดินออกเพื่อขุดหาแร่ เมื่อพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ฝนตกลงมากระทบกับพื้นดินโดยตรง ไม่มีต้นไม้ที่จะสกัดหรือสิ่งปกคลุมดินที่จะซับหรือดูดซึมน้ำเอาไว้ ทำให้เกิด Surface renoff มาก และมีการกัดเซาะที่รุนแรงตามลำห้วย ลำธาร หรือบริเวณใกล้เคียงที่ท่วมท้นถึง มีความขุ่นทำความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ไร่นา และนำความเดือดร้อนมาสู่ผู้บริโภคอย่างเห็นได้ชัด
# การทำเหมืองเปิด (Strip Mining) – การทำลายป่ารูปแบบนี้นับว่าร้ายแรงมาก มีการเปิดหน้าดินออกเพื่อขุดหาแร่ เมื่อพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ฝนตกลงมากระทบกับพื้นดินโดยตรง ไม่มีต้นไม้ที่จะสกัดหรือสิ่งปกคลุมดินที่จะซับหรือดูดซึมน้ำเอาไว้ ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าหน้าดินมาก และมีการกัดเซาะที่รุนแรงตามลำห้วย ลำธาร หรือบริเวณใกล้เคียงที่ท่วมท้นถึง มีความขุ่นทำความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ไร่นา และนำความเดือดร้อนมาสู่ผู้บริโภคอย่างเห็นได้ชัด


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:18, 4 กันยายน 2555

การทำลายป่าฝนอะเมซอน

การทำลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช การบริเวณพื่นที่ป่าถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักจะด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้

สาเหตุ

สาเหตุที่เป็นต้นกำเนิดของการทำลายป่าที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีมากมาย รวมถึงการทุจริตของหน่วยงานรัฐบาล การกระจายความมั่งคั่งและอำนาจอย่างไม่เสมอภาค การเพิ่มประชากรและมีประชากรมากเกินไป และการพัฒนาให้กลายเป็นเมือง (สิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดจากขบวนการแรงงาน เงินทุน โภคภัณฑ์ และมโนคติ) ช่วยส่งเสริมการฟื้นฟูป่าเฉพาะที่

รูปแบบการทำลายป่าที่สำคัญ

  1. การทำไร่เลื่อนลอย – การทำลายป่าในลักษณะนี้มีอยุ่มากในทางภาคเหนือ เพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ของภาคเหนือมีแต่ภูเขา มีพื้นที่ราบค่อนข้างจำกัด เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงมีการขยายพื้นที่ทำมาหากินจากที่ราบขึ้นไปบนเขาทางหนึ่ง กับอีกทางหนึ่งคือชาวเขาที่อาศัยอยู่บนภูเขา ทำการแผ้วถางป่าเพื่อปลูกพืชไร่อยู่ตามภูเขาสูง โดยเฉพาะป่าดงดิบเขาบริเวณต้นน้ำลำธาร
  2. การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ – ลักษณะการบุกรุกป่าแบบนี้จะพบได้ทั่วไปในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่ข้าวโพด มันสำปะหลัง หรือปอ เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่อย่างกว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย
  3. การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทำลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทำกินของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ
  4. ไฟป่า – ไฟป่าเกิดขึ้นได้จากการกระทำของมนุษย์และเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ผลจากไฟไหม้ป่าจะทำลายเศษไม้ ใบไม้ ลูกไม้ เมล็ดไม้ สัตว์และแมลง แม้กระทั้งต้นไม้ในป่าไปพร้อมกัน ทำให้ผิวดินในป่าที่ถูกไฟไหม้แข็ง ขาดคุณภาพในการดูดซึมและซับน้ำ จึงทำให้เกิด น้ำไหลบ่าหน้าดิน (surface runoff) มากเมื่อฝนตก เมื่อน้ำไหลบ่าหน้าดินมาก น้ำฝนที่ตกลงมาจะท่วมท้นฝั่งลำห้วย นอกจากนี้ยังทำให้เกิดการกัดเซาะตามลำน้ำ ทำให้น้ำขุ่น ผิวหน้าดินบริเวณเดิมก็จะขาดความโอชะไป น้ำพัดพาเอาตะกอนไปท่วมไร่นา พืชผลเสียหาย ป็นการเพิ่มความเสียหายแก่ทรัพย์สินและพืชผลเป็นทวีคูณ
  5. การทำไม้ออกเกินกำลังของป่า
  6. การทำเหมืองเปิด (Strip Mining) – การทำลายป่ารูปแบบนี้นับว่าร้ายแรงมาก มีการเปิดหน้าดินออกเพื่อขุดหาแร่ เมื่อพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ฝนตกลงมากระทบกับพื้นดินโดยตรง ไม่มีต้นไม้ที่จะสกัดหรือสิ่งปกคลุมดินที่จะซับหรือดูดซึมน้ำเอาไว้ ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าหน้าดินมาก และมีการกัดเซาะที่รุนแรงตามลำห้วย ลำธาร หรือบริเวณใกล้เคียงที่ท่วมท้นถึง มีความขุ่นทำความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ไร่นา และนำความเดือดร้อนมาสู่ผู้บริโภคอย่างเห็นได้ชัด

อ้างอิง

  • [1]
  • วรรณวนาลัย ไพสณฑ์ศรลักษณ์ และ พิทักษ์พนาลี วนศรีเสริมสยาม. 2524. รูปแบบของการทำลายป่าทีสำคัญ, น. 16-20. ใน ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ ทุ่งพระเมรุ-แสนแสบ-ประสานมิตร-บางเขน, บรรณาธิการ. ป่าไม้จะอยู่ยั้งยืนยง. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.