ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phoom10 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
นายปานเทพ จบการศึกษา[[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|คณะเศรษฐศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเซาท์เทิร์นแคลิฟอร์เนีย]] [[สหรัฐอเมริกา]] และได้รับการอบรมจาก[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] รุ่นที่ 40 ('''[[ วปรอ. 4010]]''')
นายปานเทพ จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]],[[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|คณะเศรษฐศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเซาท์เทิร์นแคลิฟอร์เนีย]] [[สหรัฐอเมริกา]] และได้รับการอบรมจาก[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] รุ่นที่ 40 ('''[[ วปรอ. 4010]]''')


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:12, 31 กรกฎาคม 2555

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ
ไฟล์:ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ.jpg
ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 เมษายน พ.ศ. 2542
ก่อนหน้าพล.ต.อ. วุฑฒิชัย ศรีรัตนวุฑฒิ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (78 ปี)

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

ประวัติ

นายปานเทพ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล,คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซาท์เทิร์นแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และได้รับการอบรมจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 (วปรอ. 4010)

การทำงาน

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ เริ่มทำงานที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) จนดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองวางแผนและวิชาการ แล้วย้ายมารับตำแหน่งผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) ต่อมาดำรงตำแหน่ง เลขาธิการ กปร.[1] และเป็นกรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา

ช่วงปลายปี พ.ศ. 2548 นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ เป็นผู้ทำบันทึกทักท้วงรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มิให้จ่ายเงินค่าเวนคืนโครงการพระราชดำริ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ให้กับนายทุนที่ดินเป็นจำนวนเงิน 670 ล้านบาท

นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็น 1 ใน 18 ผู้ถูกเสนอชื่อให้วุฒิสภาคัดเลือกให้เหลือ 9 คน ระหว่างขั้นตอนการคัดสรร และได้รับการแต่งตั้งเป็น ประธานคณะกรรมการ ป.ป.ช. จากประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2549[2]

อ้างอิง