ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุดเดือด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 118.172.150.42 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย MerlIwBot
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
จุดเดือดปกติ (หรือเรียกว่า จุดเดือดบรรยากาศหรือจุดเดือดความดันบรรยากาศ) ของของเหลวเป็นกรณีพิเศษซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล คือ 1 [[บรรยากาศ (หน่วยวัด)|บรรยากาศ]]<ref>[http://www.chem.purdue.edu/gchelp/gloss/normalbp.html General Chemistry Glossary] [[Purdue University]] website page</ref><ref>{{cite book|author=Kevin R. Reel, R. M. Fikar, P. E. Dumas, Jay M. Templin, and Patricia Van Arnum|title=AP Chemistry (REA) - The Best Test Prep for the Advanced Placement Exam|edition=9th|publisher=Research & Education Association|year=2006|isbn=0-7386-0221-3}} Section 71, page 224</ref> ที่อุณหภูมินั้น ความดันไอของของเหลวจะมากพอที่จะเอาชนะความดันบรรยากาศและให้ฟองไอก่อตัวภายในความจุของเหลว จุดเดือดมาตรฐานปัจจุบัน (จนถึง ค.ศ. 1982) นิยามโดย [[IUPAC]] ว่าเป็นอุณหภูมิซึ่งเกิดการเดือดขึ้นภายใต้ความดัน 1 [[บาร์ (หน่วยวัด)|บาร์]]<ref>[http://www.iupac.org/publications/pac/1982/pdf/5406x1239.pdf Notation for States and Processes, Significance of the Word Standard in Chemical Thermodynamics, and Remarks on Commonly Tabulated Forms of Thermodynamic Functions] See page 1274</ref>
จุดเดือดปกติ (หรือเรียกว่า จุดเดือดบรรยากาศหรือจุดเดือดความดันบรรยากาศ) ของของเหลวเป็นกรณีพิเศษซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล คือ 1 [[บรรยากาศ (หน่วยวัด)|บรรยากาศ]]<ref>[http://www.chem.purdue.edu/gchelp/gloss/normalbp.html General Chemistry Glossary] [[Purdue University]] website page</ref><ref>{{cite book|author=Kevin R. Reel, R. M. Fikar, P. E. Dumas, Jay M. Templin, and Patricia Van Arnum|title=AP Chemistry (REA) - The Best Test Prep for the Advanced Placement Exam|edition=9th|publisher=Research & Education Association|year=2006|isbn=0-7386-0221-3}} Section 71, page 224</ref> ที่อุณหภูมินั้น ความดันไอของของเหลวจะมากพอที่จะเอาชนะความดันบรรยากาศและให้ฟองไอก่อตัวภายในความจุของเหลว จุดเดือดมาตรฐานปัจจุบัน (จนถึง ค.ศ. 1982) นิยามโดย [[IUPAC]] ว่าเป็นอุณหภูมิซึ่งเกิดการเดือดขึ้นภายใต้ความดัน 1 [[บาร์ (หน่วยวัด)|บาร์]]<ref>[http://www.iupac.org/publications/pac/1982/pdf/5406x1239.pdf Notation for States and Processes, Significance of the Word Standard in Chemical Thermodynamics, and Remarks on Commonly Tabulated Forms of Thermodynamic Functions] See page 1274</ref>


== อ้างอิง ==
--[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/118.172.150.42|118.172.150.42]] 21:30, 26 กรกฎาคม 2555 (ICT)[[ไฟล์:'''''--[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/118.172.150.42|118.172.150.42]] 21:30, 26 กรกฎาคม 2555 (ICT)opal''''']] u7yuu
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:อุณหภูมิ]]
{{โครงเคมี}}

[[af:Kookpunt]]
[[an:Punto d'ebullición]]
[[ar:نقطة غليان]]
[[ast:Puntu de bullidura]]
[[be:Тэмпература кіпення]]
[[be-x-old:Тэмпэратура кіпеньня]]
[[bg:Температура на кипене]]
[[bn:স্ফুটনাংক]]
[[bs:Tačka ključanja]]
[[ca:Punt d'ebullició]]
[[cs:Teplota varu]]
[[cy:Berwbwynt]]
[[da:Kogepunkt]]
[[de:Siedepunkt]]
[[en:Boiling point]]
[[eo:Bolpunkto]]
[[es:Punto de ebullición]]
[[et:Keemistemperatuur]]
[[eu:Irakite-puntu]]
[[fa:نقطه جوش]]
[[fi:Kiehumispiste]]
[[fr:Point d'ébullition]]
[[fy:Siedpunt]]
[[gl:Punto de ebulición]]
[[he:נקודת רתיחה]]
[[hi:क्वथनांक]]
[[hr:Vrelište]]
[[ht:Tanperati pou bouyi]]
[[hu:Forrás (átalakulás)]]
[[ia:Puncto de ebullition]]
[[id:Titik didih]]
[[is:Suðumark]]
[[ja:沸点]]
[[jbo:febvi]]
[[ka:დუღილის ტემპერატურა]]
[[kk:Қайнау температурасы]]
[[ko:끓는점]]
[[ku:Xala kelînê]]
[[la:Punctum ebullitionis]]
[[lt:Virimo temperatūra]]
[[lv:Viršanas temperatūra]]
[[mk:Точка на вриење]]
[[ml:ക്വഥനാങ്കം]]
[[mr:क्वथनबिंदू]]
[[ms:Takat didih]]
[[nds:Kaakpunkt]]
[[nl:Kookpunt]]
[[nn:Kokepunkt]]
[[no:Kokepunkt]]
[[pl:Temperatura wrzenia]]
[[pnb:ابلن نمبر]]
[[pt:Ponto de ebulição]]
[[qu:Wapsichana iñu]]
[[ro:Punct de fierbere]]
[[ru:Температура кипения]]
[[sh:Vrelište]]
[[simple:Boiling point]]
[[sk:Teplota varu]]
[[sl:Vrelišče]]
[[sr:Тачка кључања]]
[[sv:Kokpunkt]]
[[sw:Kiwango cha kuchemka]]
[[ta:கொதிநிலை]]
[[te:బాష్పీభవన స్థానం]]
[[tr:Kaynama noktası]]
[[uk:Температура кипіння]]
[[ur:نقطہ کھولاؤ]]
[[uz:Qaynash harorati]]
[[vi:Nhiệt độ bay hơi]]
[[zh:沸点]]
[[zh-yue:沸點]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 26 กรกฎาคม 2555

จุดเดือดของธาตุหรือสสารเป็นอุณหภูมิซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบของเหลวนั้น[1][2]

ของเหลวในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสุญญากาศมีจุดเดือดต่ำกว่าของเหลวที่ความดันบรรยากาศ ของเหลวในสิ่งแวดล้อมความดันสูงจะมีจุดเดือดสูงกว่าของเหลวที่ความดันบรรยากาศ จึงอาจกล่าวได้ว่า จุดเดือดของของเหลวมีได้หลากหลายขึ้นอยู่กับความดันของสิ่งแวดล้อม (ซึ่งมักแตกต่างกันไปตามความสูง) ในความดันเท่ากัน ของเหลวต่างชนิดกันย่อมเดือดที่อุณหภูมิต่างกัน

จุดเดือดปกติ (หรือเรียกว่า จุดเดือดบรรยากาศหรือจุดเดือดความดันบรรยากาศ) ของของเหลวเป็นกรณีพิเศษซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล คือ 1 บรรยากาศ[3][4] ที่อุณหภูมินั้น ความดันไอของของเหลวจะมากพอที่จะเอาชนะความดันบรรยากาศและให้ฟองไอก่อตัวภายในความจุของเหลว จุดเดือดมาตรฐานปัจจุบัน (จนถึง ค.ศ. 1982) นิยามโดย IUPAC ว่าเป็นอุณหภูมิซึ่งเกิดการเดือดขึ้นภายใต้ความดัน 1 บาร์[5]

อ้างอิง

  1. David.E. Goldberg (1988). 3,000 Solved Problems in Chemistry (1st ed.). McGraw-Hill. ISBN 0-07-023684-4. Section 17.43, page 321
  2. Louis Theodore, R. Ryan Dupont and Kumar Ganesan (Editors) (1999). Pollution Prevention: The Waste Management Approach to the 21st Century. CRC Press. ISBN 1-56670-495-2. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help) Section 27, page 15
  3. General Chemistry Glossary Purdue University website page
  4. Kevin R. Reel, R. M. Fikar, P. E. Dumas, Jay M. Templin, and Patricia Van Arnum (2006). AP Chemistry (REA) - The Best Test Prep for the Advanced Placement Exam (9th ed.). Research & Education Association. ISBN 0-7386-0221-3.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) Section 71, page 224
  5. Notation for States and Processes, Significance of the Word Standard in Chemical Thermodynamics, and Remarks on Commonly Tabulated Forms of Thermodynamic Functions See page 1274