ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัชฌิมาปฏิปทา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: km:ផ្លូវកណ្ដាល; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: bg:Среден път
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]


[[bg:Среден път]]
[[da:Den gyldne middelvej]]
[[da:Den gyldne middelvej]]
[[de:Mittlerer Weg]]
[[de:Mittlerer Weg]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:53, 15 กรกฎาคม 2555

มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปในทางอุดมการณ์ใดอุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา มักไม่ยืดถือหลักการอย่างงมงาย เช่น ถือวัตถุหรือจิตใจมีค่า ยึดสิทธิปัจเจกชนหรือสังคมสำคัญ

ในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เมื่อย่นย่อแล้ว เรียกว่า "ไตรสิกขา" ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา ที่ไม่ใช่ทางสายกลาง คือ สักแต่ว่ากลาง แต่ไม่กำหนดวิธีที่ถูกต้องเลย คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป กามสุขัลลิกานุโยค คือ การพัวพันในกามในความสบาย

ดูเพิ่ม

สมตา

อ้างอิง

อุปาทิยสูตร มัญญมานสูตร อภินันทมานสูตร ขันธ. สํ. (๑๓๙, ๑๔๐ ,๑๔๑) ตบ. ๑๗ : ๙๑-๙๔ ตท. ๑๗ : ๗๙-๘๒ ตอ. K.S. ๓ : ๖๔-๖๕