ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)''' เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ดำรงตำแหน่งสูงสุดของขุนนาง(ข้าราชการ)ไทยในสมัยนั้น คือตำแหน่ง[[สมุหกลาโหม]] เมื่อ [[พ.ศ. 2438|พ.ศ. ๒๔๓๘]] นอกจากจะเป็นข้าราชการที่กล้าหาญ ซื่อตรงจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมืองและ[[พระมหากษัตริย์]]แล้ว ท่านยังเป็นบุคคลที่ใจบุญใฝ่ในธรรมะ มีเมตตากรุณา เมื่อครั้งที่ท่านมา[[ทอดกฐิน]] ณ [[วัดบางขวาง]] [[อำเภอเมืองนนทบุรี|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดนนทบุรี]] ท่านทราบว่าพระครูศีลาภิรมต้องการเงินสร้างโรงเรียน ท่านจึงบริจาคเงินจำนวน ๑๐๐ [[ชั่ง]]สร้างอาคารหลังแรกขึ้นได้รับการขนานนามว่า '''โรงเรียนรัตนาธิเบศร์''' เป็นโรงเรียนแห่งแรกของจังหวัดนนทบุรี จึงถือได้ว่าท่านเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์นอกจากจะเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ของประเทศแล้วท่านยังเป็นผู้ให้กำเนิดสถาบันการศึกษาแห่งแรก ของจังหวัดนนทบุรีด้วย
'''เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)''' เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ดำรงตำแหน่งสูงสุดของขุนนาง(ข้าราชการ)ไทยในสมัยนั้น คือตำแหน่ง[[สมุหกลาโหม]] เมื่อ [[พ.ศ. 2438|พ.ศ. ๒๔๓๘]] นอกจากจะเป็นข้าราชการที่กล้าหาญ ซื่อตรงจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมืองและ[[พระมหากษัตริย์]]แล้ว ท่านยังเป็นบุคคลที่ใจบุญใฝ่ในธรรมะ มีเมตตากรุณา เมื่อครั้งที่ท่านมา[[ทอดกฐิน]] ณ [[วัดบางขวาง]] [[อำเภอเมืองนนทบุรี|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดนนทบุรี]] ท่านทราบว่าพระครูศีลาภิรมต้องการเงินสร้างโรงเรียน ท่านจึงบริจาคเงินจำนวน ๑๐๐ [[ชั่ง]]สร้างอาคารหลังแรกขึ้นได้รับการขนานนามว่า '''โรงเรียนรัตนาธิเบศร์''' เป็นโรงเรียนแห่งแรกของจังหวัดนนทบุรี จึงถือได้ว่าท่านเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์นอกจากจะเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ของประเทศแล้วท่านยังเป็นผู้ให้กำเนิดสถาบันการศึกษาแห่งแรก ของจังหวัดนนทบุรีด้วย


==ตำแหน่ง==
== ตำแหน่ง ==
ตำแหน่งทางราชการของเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)
ตำแหน่งทางราชการของเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)
===สมัยรัชกาลที่ ๔===
=== สมัยรัชกาลที่ ๔ ===
* ขุนสมุทรโคจร กรมมหาดเล็ก
* ขุนสมุทรโคจร กรมมหาดเล็ก
===สมัยรัชกาลที่ ๕===
=== สมัยรัชกาลที่ ๕ ===
*พระนรินทรราชเสนี ปลัดบัญชี กรมพระกลาโหม
* พระนรินทรราชเสนี ปลัดบัญชี กรมพระกลาโหม
*พระยาเทพประชุม ปลัดทูลฉลอง กรมพระกลาโหม
* พระยาเทพประชุม ปลัดทูลฉลอง กรมพระกลาโหม
*เจ้าพระยาพลเทพ ตำแหน่งเสนาบดี กระทรวงเกษตราธิการ ([[พ.ศ. 2429|พ.ศ. ๒๔๒๙]])
* เจ้าพระยาพลเทพ ตำแหน่งเสนาบดี กระทรวงเกษตราธิการ ([[พ.ศ. 2429|พ.ศ. ๒๔๒๙]])
*เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ ตำแหน่งสมุหกลาโหม (พ.ศ. ๒๔๓๘)
* เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ ตำแหน่งสมุหกลาโหม (พ.ศ. ๒๔๓๘)


เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์เป็นข้าราชการตัวอย่างที่มีความดีพร้อม เป็นผู้ที่เสียสละเห็นแก่ความสงบความเจริญของบ้านเมือง จึงเป็นที่รักใคร่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เห็นได้จากการดำรงตำแหน่งสูงสุดทางราชการได้ยาวนานตลอดจนสิ้นอายุขัย
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์เป็นข้าราชการตัวอย่างที่มีความดีพร้อม เป็นผู้ที่เสียสละเห็นแก่ความสงบความเจริญของบ้านเมือง จึงเป็นที่รักใคร่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เห็นได้จากการดำรงตำแหน่งสูงสุดทางราชการได้ยาวนานตลอดจนสิ้นอายุขัย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:00, 26 กุมภาพันธ์ 2550

เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงตำแหน่งสูงสุดของขุนนาง(ข้าราชการ)ไทยในสมัยนั้น คือตำแหน่งสมุหกลาโหม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ นอกจากจะเป็นข้าราชการที่กล้าหาญ ซื่อตรงจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมืองและพระมหากษัตริย์แล้ว ท่านยังเป็นบุคคลที่ใจบุญใฝ่ในธรรมะ มีเมตตากรุณา เมื่อครั้งที่ท่านมาทอดกฐินวัดบางขวาง อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ท่านทราบว่าพระครูศีลาภิรมต้องการเงินสร้างโรงเรียน ท่านจึงบริจาคเงินจำนวน ๑๐๐ ชั่งสร้างอาคารหลังแรกขึ้นได้รับการขนานนามว่า โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ เป็นโรงเรียนแห่งแรกของจังหวัดนนทบุรี จึงถือได้ว่าท่านเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์นอกจากจะเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ของประเทศแล้วท่านยังเป็นผู้ให้กำเนิดสถาบันการศึกษาแห่งแรก ของจังหวัดนนทบุรีด้วย

ตำแหน่ง

ตำแหน่งทางราชการของเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)

สมัยรัชกาลที่ ๔

  • ขุนสมุทรโคจร กรมมหาดเล็ก

สมัยรัชกาลที่ ๕

  • พระนรินทรราชเสนี ปลัดบัญชี กรมพระกลาโหม
  • พระยาเทพประชุม ปลัดทูลฉลอง กรมพระกลาโหม
  • เจ้าพระยาพลเทพ ตำแหน่งเสนาบดี กระทรวงเกษตราธิการ (พ.ศ. ๒๔๒๙)
  • เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ ตำแหน่งสมุหกลาโหม (พ.ศ. ๒๔๓๘)

เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์เป็นข้าราชการตัวอย่างที่มีความดีพร้อม เป็นผู้ที่เสียสละเห็นแก่ความสงบความเจริญของบ้านเมือง จึงเป็นที่รักใคร่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เห็นได้จากการดำรงตำแหน่งสูงสุดทางราชการได้ยาวนานตลอดจนสิ้นอายุขัย

ท่านถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๔๔ รวมอายุได้ ๘๑ ปี


เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ