ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบซอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: war:Boson
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: yo:Bósónì; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 21: บรรทัด 21:


{{อนุภาค}}
{{อนุภาค}}
{{โครงฟิสิกส์}}


[[หมวดหมู่:โบซอน| ]]
[[หมวดหมู่:โบซอน| ]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์อนุภาค]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์อนุภาค]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีสนามควอนตัม]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีสนามควอนตัม]]
{{โครงฟิสิกส์}}


[[ar:بوزون]]
[[ar:بوزون]]
บรรทัด 89: บรรทัด 89:
[[vi:Boson]]
[[vi:Boson]]
[[war:Boson]]
[[war:Boson]]
[[yo:Bósónì]]
[[zh:玻色子]]
[[zh:玻色子]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:28, 8 กรกฎาคม 2555

ในฟิสิกส์เชิงอนุภาค, โบซอน (อังกฤษ: boson) หมายถึง อนุภาคที่เป็นไปตาม สถิติแบบโบส-ไอน์สไตน์ มีสปินเป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ สัตเยนทรานาถ โบส[1]

โบซอนมีลักษณะตรงกันข้ามกับเฟอร์มิออน ที่เป็นไปตาม สถิติแบบเฟอร์มี-ดิแรก เฟอร์มิออนตั้งแต่สองตัวหรือมากกว่านั้นจะไม่สามารถอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้

โบซอนเป็นได้ทั้งอนุภาคมูลฐาน เช่น โฟตอน หรือเป็นอนุภาคประกอบ เช่น มีซอน โดยโบซอนส่วนมากจะเป็นอนุภาคแบบประกอบ โดยตาม "แบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์เชิงอนุภาค" มีโบซอน 6 ชนิดที่เป็นอนุภาคมูลฐาน คือ

ที่ต่างจากเกจโบซอนคือ ยังไม่เคยมีการทดลองที่สังเกตพบฮิกส์โบซอนกับกราวิตอนเลย[2]

โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษาของไหลยิ่งยวด และการประยุกต์ใช้ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ชนิดอื่นๆ

อ้างอิง

  1. "boson (dictionary entry)". Merriam-Webster's Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
  2. Standard Model of Particle Physics, SLAC Large Detector (SLD) group, Stanford Linear Accelerator Center.