ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่บอกนโยบายคนอื่นด้วย จึงไม่เป็นกลาง
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจากในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] การดำรงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ของ ร้อยเอก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ครบวาระ 4 ปี
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจากในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] การดำรงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ของ ร้อยเอก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ครบวาระ 4 ปี


ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัด[[พรรคการเมือง]]และอิสระ ได้แก่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้สมัครอิสระ ที่[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535]] ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]], ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ และนาย[[อากร ฮุนตระกูล]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) [[กรุงเทพมหานคร]] [[พรรคพลังธรรม]] ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัด[[พรรคการเมือง]]และอิสระ ได้แก่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้สมัครอิสระ ที่[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535]] ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]], ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ และนาย[[อากร ฮุนตระกูล]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) [[กรุงเทพมหานคร]] [[พรรคพลังธรรม]] ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม


โดยการเลือกตั้งมีขึ้นใน[[วันอาทิตย์]]ที่ [[2 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ได้รับเลือกไปด้วยคะแนนสูงถึง 768,994 คะแนน คิดเป็น[[ร้อยละ]] 43.53<ref>[http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]] และ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|พ.ศ. 2533]] ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09
โดยการเลือกตั้งมีขึ้นใน[[วันอาทิตย์]]ที่ [[2 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็น[[ร้อยละ]] 43.53<ref>[http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]] และ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|พ.ศ. 2533]] ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09


อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้งคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา แม้ว่า[[ฝน]]จะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมี[[Poll|การสำรวจคะแนนความนิยม]]จาก[[สถาบันอุดมศึกษา|สถาบันการศึกษา]]ต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ใน[[หนังสือพิมพ์]]บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า<ref>"พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน ([[สำนักพิมพ์มติชน]], [[พ.ศ. 2550]]) ISBN 974-323-889-1 </ref>
อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา แม้ว่า[[ฝน]]จะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมี[[Poll|การสำรวจคะแนนความนิยม]]จาก[[สถาบันอุดมศึกษา|สถาบันการศึกษา]]ต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ใน[[หนังสือพิมพ์]]บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า<ref>"พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน ([[สำนักพิมพ์มติชน]], [[พ.ศ. 2550]]) ISBN 974-323-889-1 </ref>


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:50, 1 กรกฎาคม 2555

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 นับเป็น การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นครั้งที่ 5 สืบเนื่องจากในเดือนเมษายน พ.ศ. 2539 การดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครของ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ครบวาระ 4 ปี

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัดพรรคการเมืองและอิสระ ได้แก่ ดร.พิจิตต รัตตกุล ผู้สมัครอิสระ ที่เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์, ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ และนายอากร ฮุนตระกูล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร พรรคพลังธรรม ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม

โดยการเลือกตั้งมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.53[1] ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09

อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา แม้ว่าฝนจะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมีการสำรวจคะแนนความนิยมจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า[2]

อ้างอิง

  1. สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จากผู้จัดการออนไลน์
  2. "พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน (สำนักพิมพ์มติชน, พ.ศ. 2550) ISBN 974-323-889-1