ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกซ์86"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: lv:X86
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Pentium4_northwood.png|right|thumb|200px|ชิปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง]]
[[ภาพ:Pentium4_northwood.png|right|thumb|200px|ชิปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง]]


'''x86''' หรือ '''80x86''' เป็นชื่อทั่วไปของ[[สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์]]สำหรับ[[ไมโครโพรเซสเซอร์]]ที่สร้างโดยบริษัท[[อินเทล]] ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ใน[[ไอบีเอ็มพีซี]] ช่วงทศวรรษที่ 80
'''x86''' หรือ '''80x86''' เป็นชื่อทั่วไปของ[[สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์]]สำหรับ[[ไมโครโพรเซสเซอร์]]ที่สร้างโดยบริษัท[[อินเทล]] ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ใน[[ไอบีเอ็มพีซี]] ช่วงทศวรรษที่ 80

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:24, 23 กุมภาพันธ์ 2550

ชิปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง

x86 หรือ 80x86 เป็นชื่อทั่วไปของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์ที่สร้างโดยบริษัทอินเทล ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ในไอบีเอ็มพีซี ช่วงทศวรรษที่ 80

ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ 8086, 80186, 80286, 386 และ 486 ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "เพนเทียม" (Pentium) แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้

ใน ค.ศ. 1985 อินเทลได้ออกซีพียู 386 แบบ 32 บิตมาแทนที่ซีพียู 286 ที่เป็นแบบ 16 บิต สถาปัตยกรรมแบบ 32 บิตนี้จึงเรียกว่า x86-32 หรือ IA-32 (IA ย่อมาจาก Intel Architecture) ในปี ค.ศ. 2003 บริษัทเอเอ็มดีได้ออกซีพียู แอธลอน 64 ซึ่งขยายความสามารถให้ทำงานที่ 64 บิต และมีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ x86-64, AMD64 (ชื่อเรียกของเอเอ็มดี), EM64T, IA-32e (อินเทล), x64 (ไมโครซอฟท์) ซึ่งเป็นคนละตัวกับสถาปัตยกรรม IA-64 ของอินเทล