ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{อย่าพึ่งลบ|อยู่ระหว่างแก้ไข}}
{{อย่าพึ่งลบ|อยู่ระหว่างแก้ไข}}


วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555 เจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลพม่าเปิดเผยว่า มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 35 คน และผู้บาดเจ็บอีก 41 คนจากเหตุการณ์ไม่สงบในรัฐยะไข่ในช่วง 5 วันที่ผ่านมา นับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2555 เหตุการณ์เริ่มต้นจากชาวมุสลิม 10 คน ที่ถูกชาวพุทธรุมฆ่า เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2555 เพื่อแก้แค้นให้เด็กหญิงชาวพุทธที่ถูกข่มขืนแล้วฆ่าเมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2555 ซึ่งเป็นชนวนเหตุความรุนแรงระลอกใหม่ในรัฐยะไข่
วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555 เจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลพม่ารายงานว่า มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 35 คน และผู้บาดเจ็บอีก 41 คนจากเหตุการณ์ไม่สงบในรัฐยะไข่ในช่วง 5 วันที่ผ่านมา นับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2555 ซึ่งรัฐบาลพม่าได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ในวันเดียวกัน
== สาเหตุ ==
เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2555 เกิดเหตุเด็กหญิงชาวพทูธถูกคนร้ายชาวมุสลิมข่มขืนและทำร้ายร่างกายจนเสียชีวิต เป็นเหตุให้ชาวพุทธกลุ่มนี้ไม่พอใจและ ได้สังหารชาวมุสลิม จำนวน 10 รายในวันที่ 3 มิถุนายนพ.ศ.2555 เป็นการตอบโต้อย่างไรก็ตามประเด็นในเรื่องศาสนายังคงเป็นที่ถกเถียงว่าเป็นสาเหตุในครั้งนี้หรือไม่
== ปฏิกิริยา ==
== ปฏิกิริยา ==
กลุ่มแพทย์ไร้พรมแดน หนึ่งในองค์กรบรรเทาทุกข์นานาชาติ เพียงไม่กี่กลุ่มที่ทำงานในรัฐยะไข่ ระงับการทำงานชั่วคราวแล้ว เนื่องจากวิตกเรื่องความปลอดภัย เช่นเดียวกับสหประชาชาติที่ให้อพยพเจ้าหน้าที่และครอบครัวตั้งแต่สุดสัปดาห์
กลุ่มแพทย์ไร้พรมแดน หนึ่งในองค์กรบรรเทาทุกข์นานาชาติ เพียงไม่กี่กลุ่มที่ทำงานในรัฐยะไข่ ระงับการทำงานชั่วคราวแล้ว เนื่องจากวิตกเรื่องความปลอดภัย เช่นเดียวกับสหประชาชาติที่ให้อพยพเจ้าหน้าที่และครอบครัวตั้งแต่สุดสัปดาห์
กลุ่มฮิวแมน ไรท์ วอทช์ เตือนว่า เหตุรุนแรงในรัฐยะไข่ อาจถึงขั้นไม่สามารถควบคุมได้ และเรียกร้องให้นานาชาติส่งผู้สังเกตการณ์เข้าไปช่วยเหลือ

== หลังจากเหตุการณ์ ==
กลุ่มฮิวแมน ไรท์ วอทช์ เตือนว่า เหตุรุนแรงในรัฐยะไข่ อาจถึงขั้นไม่สามารถควบคุมได้ และเรียกร้องให้นานาชาติส่งผู้สังเกตการณ์เข้าไปช่วยเหลือ นับตั้งแต่เกิดการตอบโต้ล้างแค้นระหว่างสองฝ่ายในยะไข่ มีชาวโรฮิงญา พยายามล่องเรือข้ามแม่น้ำไปยังฝั่งบังกลาเทศจำนวนมาก แต่ทางการบังกลาเทศสกัดกั้น ผู้อพยพเหล่านี้กลับไปราว 1,500 คนแล้ว ขณะที่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ เรียกร้องให้บังกลาเทศเปิดพรมแดนเพื่อต้อนรับผู้อพยพโรฮิงญา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็ก สตรี และผู้บาดเจ็บ
หลังจากเกิดเหตุการตอบโต้ล้างแค้นระหว่างสองฝ่ายในยะไข่ มีชาวโรฮิงญา พยายามล่องเรือข้ามแม่น้ำไปยังฝั่งบังกลาเทศจำนวนมาก แต่ทางการบังกลาเทศสกัดกั้น ผู้อพยพเหล่านี้กลับไปราว 1,500 คนแล้ว ขณะที่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ เรียกร้องให้บังกลาเทศเปิดพรมแดนเพื่อต้อนรับผู้อพยพโรฮิงญา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็ก สตรี และผู้บาดเจ็บ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:30, 14 มิถุนายน 2555


วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555 เจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลพม่ารายงานว่า มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 35 คน และผู้บาดเจ็บอีก 41 คนจากเหตุการณ์ไม่สงบในรัฐยะไข่ในช่วง 5 วันที่ผ่านมา นับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2555 ซึ่งรัฐบาลพม่าได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ในวันเดียวกัน

สาเหตุ

เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2555 เกิดเหตุเด็กหญิงชาวพทูธถูกคนร้ายชาวมุสลิมข่มขืนและทำร้ายร่างกายจนเสียชีวิต เป็นเหตุให้ชาวพุทธกลุ่มนี้ไม่พอใจและ ได้สังหารชาวมุสลิม จำนวน 10 รายในวันที่ 3 มิถุนายนพ.ศ.2555 เป็นการตอบโต้อย่างไรก็ตามประเด็นในเรื่องศาสนายังคงเป็นที่ถกเถียงว่าเป็นสาเหตุในครั้งนี้หรือไม่

ปฏิกิริยา

กลุ่มแพทย์ไร้พรมแดน หนึ่งในองค์กรบรรเทาทุกข์นานาชาติ เพียงไม่กี่กลุ่มที่ทำงานในรัฐยะไข่ ระงับการทำงานชั่วคราวแล้ว เนื่องจากวิตกเรื่องความปลอดภัย เช่นเดียวกับสหประชาชาติที่ให้อพยพเจ้าหน้าที่และครอบครัวตั้งแต่สุดสัปดาห์ กลุ่มฮิวแมน ไรท์ วอทช์ เตือนว่า เหตุรุนแรงในรัฐยะไข่ อาจถึงขั้นไม่สามารถควบคุมได้ และเรียกร้องให้นานาชาติส่งผู้สังเกตการณ์เข้าไปช่วยเหลือ

หลังจากเหตุการณ์

หลังจากเกิดเหตุการตอบโต้ล้างแค้นระหว่างสองฝ่ายในยะไข่ มีชาวโรฮิงญา พยายามล่องเรือข้ามแม่น้ำไปยังฝั่งบังกลาเทศจำนวนมาก แต่ทางการบังกลาเทศสกัดกั้น ผู้อพยพเหล่านี้กลับไปราว 1,500 คนแล้ว ขณะที่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ เรียกร้องให้บังกลาเทศเปิดพรมแดนเพื่อต้อนรับผู้อพยพโรฮิงญา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็ก สตรี และผู้บาดเจ็บ

อ้างอิง