ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: it:Massacro dei reali nepalesi
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดย[[สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|มกุฎราชกุมารดิเพนทรา]] (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฏราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฏราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฏราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจาก[[สุรา|น้ำจัณฑ์]] (สุรา) และยาเสพติด
สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดย[[สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|มกุฎราชกุมารดิเพนทรา]] (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฏราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฏราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฏราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจาก[[สุรา|น้ำจัณฑ์]] (สุรา) และยาเสพติด


หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อันเชิญให้มกุฏราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้[[สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ|เจ้าชายคยาเนนทรา]] (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับใน[[กาฐมาณฑุ]]ขณะเกิดโศกนาฏกรรม
หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อันเชิญให้มกุฏราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้[[สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ|เจ้าชายชญาเนนทร]] (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับใน[[กาฐมาณฑุ]]ขณะเกิดโศกนาฏกรรม


การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ [[8 มิถุนายน]] ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist : NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ [[14 มิถุนายน]] เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา
การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ [[8 มิถุนายน]] ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist : NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ [[14 มิถุนายน]] เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
*[[สมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระชนก)
*[[สมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระชนก)
*[[สมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระชนนี)
*[[สมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระชนนี)
*[[สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|มกุฎราชกุมารทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ]] (ภายหลังถูกยกเป็นพระมหากษัตริย์ ภายหลังจึงได้สวรรคตในเวลา 3 วัน)
*[[สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|มกุฎราชกุมารทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ]] (''ผู้ต้องหา'', ภายหลังถูกยกเป็นพระมหากษัตริย์ และได้สวรรคตในเวลา 3 วันหลังก่อเหตุ)
*[[เจ้าฟ้าชายนิราชันพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระอนุชา)
*[[เจ้าชายนิราชันพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระอนุชา)
*[[เจ้าฟ้าหญิงศรุติราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระขนิษฐา)
*[[เจ้าหญิงศรุติราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระขนิษฐา)
*[[เจ้าฟ้าชายธีเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|นายธีเปนทร ศาหะ]] (พระอนุชาในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร ซึ่งถูกถอดพระอิสริยยศ)
*[[เจ้าชายธีเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ|นายธีเปนทร ศาหะ]] (พระอนุชาในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร ซึ่งถูกถอดพระอิสริยยศ)
*[[เจ้าฟ้าหญิงชยันตีราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระญาติในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าหญิงชยันตีราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระญาติในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าฟ้าหญิงศานติราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระพี่นางในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าหญิงศานติราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระพี่นางในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าฟ้าหญิงศารทราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระพี่นางในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าหญิงศารทราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระพี่นางในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*นายกุมาร ขัทกะ (พระสวามีในเจ้าฟ้าหญิงศารท)
*นายกุมาร ขัทกะ (พระสวามีในเจ้าหญิงศารท)
===ผู้ได้รับบาดเจ็บ===
===ผู้ได้รับบาดเจ็บ===
*[[เจ้าฟ้าหญิงโศภาราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระขนิษฐาในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าหญิงโศภาราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระขนิษฐาในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*นายกุมาร โครัข (พระสวามีในเจ้าฟ้าหญิงศรุติ)
*นายกุมาร โครัข (พระสวามีในเจ้าหญิงศรุติ)
*[[สมเด็จพระราชินีโกมาลราชยลักษมีเทวีศาหะ|เจ้าฟ้าหญิงโกมาลราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระชายาใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ|เจ้าฟ้าชายชญาเนนทร]] ภายหลังได้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งเนปาลคนสุดท้าย)
*[[สมเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ|เจ้าหญิงโกมลราชยลักษมีเทวีศาหะ]] (พระชายาใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ|เจ้าชายชญาเนนทร]] ภายหลังได้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งเนปาลคนสุดท้าย)
*นายเคตากี เชสเตอร์ (พระญาติในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*นายเคตากี เชสเตอร์ (พระญาติในสมเด็จพระราชาธิบดีพิเรนทร)
*[[เจ้าฟ้าชายปาราสพีรพิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|เจ้าฟ้าชายปาราสพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระโอรสในเจ้าฟ้าชายชญาเนนทร ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นมกุฎราชกุมารภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของมกุฎราชกุมารทิเปนทร)
*[[เจ้าชายปารัสพีรพิกรมศาหเทวะ มกุฎราชกุมารแห่งเนปาล|เจ้าชายปารัสพีรพิกรมศาหเทวะ]] (พระโอรสในเจ้าชายชญาเนนทร ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นมกุฎราชกุมารภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของมกุฎราชกุมารทิเปนทร)


[[หมวดหมู่:ประเทศเนปาล]]
[[หมวดหมู่:ประเทศเนปาล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:58, 12 มิถุนายน 2555

แม่แบบ:กล่องข้อมูลการโจมตีของผู้ก่อการร้าย

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์แห่งเนปาลขึ้นภายในพระราชวังในกรุงกาฐมาณฑุ เป็นผลให้กษัตริย์พิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Birendra Bir Bikram Shah Dev) และสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ (Aiswarya) เสด็จสวรรคต พร้อมด้วยสมาชิกพระราชวงศ์อีก 7 พระองค์ ซึ่งล้วนแต่เป็นสมาชิกองค์สำคัญในราชวงศ์เนปาลทั้งสิ้น เหตุการณ์นี้ทำให้ชาวโลกตื่นตะลึง และยังความเศร้าโศกโกลาหลให้แก่ชาวเนปาลอย่างมหันต์

สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดยมกุฎราชกุมารดิเพนทรา (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฏราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฏราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฏราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจากน้ำจัณฑ์ (สุรา) และยาเสพติด

หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อันเชิญให้มกุฏราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้เจ้าชายชญาเนนทร (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับในกาฐมาณฑุขณะเกิดโศกนาฏกรรม

การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist : NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 14 มิถุนายน เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา

เหยื่อจากเหตุการณ์สังหารหมู่

ผู้เสียชีวิต

ผู้ได้รับบาดเจ็บ

แม่แบบ:Link GA