ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การได้ยิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
HRoestBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: km:អ្នកសារពត័មាន
Synthebot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[be-x-old:Слых]]
[[be-x-old:Слых]]
[[bg:Слух]]
[[bg:Слух]]
[[bn:শ্রবণ]]
[[bn:শ্রবণ (ইন্দ্রিয়)]]
[[bs:Sluh]]
[[bs:Sluh]]
[[ca:Oïda]]
[[ca:Oïda]]
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
[[ja:聴覚]]
[[ja:聴覚]]
[[kk:Есту]]
[[kk:Есту]]
[[km:អ្នកសារពត័មាន]]
[[ko:청각]]
[[ko:청각]]
[[lt:Klausa]]
[[lt:Klausa]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:38, 5 มิถุนายน 2555

การได้ยิน หรือ การฟัง หมายถึงการรับรู้เสียงได้ เป็นการรับรู้การสื่อสารจากการพูด และเป็นหนึ่งในสัมผัสทั้งห้า อวัยวะที่ใช้ในการฟังเราเรียกว่าหู การได้ยินเป็นหนึ่งในสัมผัสสามอย่างที่ไม่สามารถปิดกั้นได้(ได้แก่ การได้ยิน การดม และกายสัมผัส)

กระบวนการการได้ยินของมนุษย์

การฟังในทางการสื่อสาร

การฟังในทางการสื่อสาร หมายถึงการรับรู้สารที่ผ่านสื่อ(Media) ที่เป็นเสียง การฟังมักจะคู่กับการพูด แต่ไม่จำเป็นต้องฟังการพูดก็ได้ การฟังอาจนับรวมไปถึงการฟังสัญญาณเสียงซึ่งเป็นอวัจนภาษา การฟังในทางการสื่อสารจะแตกต่างจากการได้ยิน เนื่องจากการได้ยินเป็นสัมผัสที่ปิดกั้นไม่ได้ การฟังจึงขยายความหมายถึงไปกว้างกว่าการได้ยิน โดยการฟังจะรวมถึงการนำสารที่ได้จากการได้ยิน มาคิดวิเคราะห์และไตร่ตรองด้วย[1]

อุปสรรคในการฟัง

อุปสรรคในการฟังแบ่งได้สองประการคือ

  • อุปสรรคภายนอก หมายถึงการมีเสียงรบกวน หรือการบดบังเชิงการฟัง เช่นการฟังสมอลล์ทอล์กทำให้ไม่ได้ยินผู้อื่นพูดเป็นต้น
  • อุปสรรคภายใน หมายถึงปัญหาทางด้านหู เช่นหูตึง หูหนวก หรือมีความพิการในด้านการสูญเสียการได้ยิน เป็นต้น

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น