ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาอโศก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: * [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2012/02/hon-chief-minister-of-bihar-shri-nitish.html The Ashokan Pillar Site of Rampurwa] -[http://maps.google.com/maps?q=27%C2%B0+16%E2%80%99+11+N,+84%C2...
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: * [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2012/02/hon-chief-minister-of-bihar-shri-nitish.html The Asoka Pillar Site of Rampurwa] -[http://maps.google.com/maps?ll=27.269736,84.499454&spn=0.00134,...
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


* [http://www.cs.colostate.edu/~malaiya/ashoka.html THE EDICTS OF KING ASHOKA]. Colorado State University. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52
* [http://www.cs.colostate.edu/~malaiya/ashoka.html THE EDICTS OF KING ASHOKA]. Colorado State University. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52
* [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2012/02/hon-chief-minister-of-bihar-shri-nitish.html The Ashokan Pillar Site of Rampurwa] -[http://maps.google.com/maps?q=27%C2%B0+16%E2%80%99+11+N,+84%C2%B0+29%E2%80%99+58+E&hl=th&ie=UTF8&ll=27.269736,84.499454&spn=0.00134,0.001725&t=h&z=19 maps.google]
* [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2012/02/hon-chief-minister-of-bihar-shri-nitish.html The Asoka Pillar Site of Rampurwa] -[http://maps.google.com/maps?ll=27.269736,84.499454&spn=0.00134,0.001725&t=h&z=19&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2011/04/heritage-sites.html The Ashokan Pillar of Lauriya Nandangarh] -[http://maps.google.com/maps?ll=26.998467,84.408506&spn=0.002686,0.003449&t=h&z=18&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://nalanda-onthemove.blogspot.com/2011/04/heritage-sites.html The Asoka Pillar Site of Lauriya Nandangarh] -[http://maps.google.com/maps?ll=26.998467,84.408506&spn=0.002686,0.003449&t=h&z=18&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://myareraj.com/areraj_tourism.php The Ashokan Pillar Site of Areraj] -[http://maps.google.com/maps?ll=26.550197,84.647561&spn=0.002697,0.003449&t=h&z=18&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://myareraj.com/areraj_tourism.php The Asoka Pillar Site of Areraj] -[http://maps.google.com/maps?ll=26.550197,84.647561&spn=0.002697,0.003449&t=h&z=18&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://www.art-and-archaeology.com/india/dhauli/re01.html The Asoka's rock edict, Dhauli, Orissa] -[http://maps.google.com/maps?ll=20.189663,85.842876&spn=0.00283,0.003449&t=h&z=18&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://berhampurphoto.blogspot.com/2011/07/jaugada-ruined-fortress-of-mauryan.html The Asoka Rock - Edicts - Jaugada - Ganjam] -[http://maps.google.com/maps?ll=19.522602,84.830933&spn=0.001421,0.001725&t=h&z=19&lci=com.panoramio.all maps.google]
* [http://www.ancientindia.co.uk/buddha/explore/intro.html The Great Stupa at Amaravati] -[http://maps.google.com/maps?ll=16.575727,80.356549&spn=0.001445,0.001725&t=h&z=19&lci=com.panoramio.all maps.google]


{{โครงพุทธศาสนา}}
{{โครงพุทธศาสนา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:30, 25 พฤษภาคม 2555

เสาอโศก หรือ เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช (อังกฤษ: Pillars of Ashoka, ฮินดี: अशोक स्तंभ, อโศก สฺตํภ) เป็นเสาหินโบราณที่สร้างโดยพระเจ้าอโศกมหาราช พระมหาจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เมารยะ ที่ปกครองอนุทวีปอินเดียในช่วงยุคพุทธศตวรรษที่ 4 พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างเสาหินทราย (ซึ่งต่อมาเรียกกันว่า "เสาอโศก") ขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเพื่อระบุสถานที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา

เสาหินเหล่านี้สร้างโดยหินทรายจากเมืองจุณนา เมืองทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งถือได้ว่ามีคุณภาพดีที่สุดในสมัยนั้น โดยเสาทุกเสาจะมีหัวสิงห์แกะสลักประดิษฐานอยู่ เป็นสัญลักษณ์ถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่องอาจดุจราชสีห์ และแผ่ไปไกลดุจเสียงแห่งราชสีห์ โดยตัวเสาจะมีคำจารึกถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งเสาหรือประกาศพระบรมราชโองการของพระเจ้าอโศกมหาราช

เสาอโศกที่สมบูรณ์ที่สุดอยู่ที่อารามหลวงแห่งเจ้ามัลละในเมืองเวสาลี เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล แต่เสาอโศกต้นที่ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ เสาอโศกที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี สถานที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา เป็นเสาที่หักเป็นสี่ท่อน แต่ว่ารูปสลักรูปสิงห์สี่ทิศบนเสายังคงมีสภาพสมบูรณ์ ปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้นำรูปสลักที่เสานี้มาเป็นสัญลักษณ์ของประเทศ รูปพระธรรมจักร 24 ซี่ ได้ถูกนำไปประดิษฐานในธงชาติอินเดีย และข้อความที่จารึกไว้โดยพระเจ้าอโศกว่า "สตฺยเมว ชยเต" (คำแปล: ความจริงชนะทุกสิ่ง) ได้กลายมาเป็นคำขวัญประจำชาติอินเดียในปัจจุบัน

เดิมนั้น เสาอโศกมีอยู่ทั่วพระราชอาณาจักรของพระเจ้าอโศกมหาราช แต่ต่อมาได้ถูกทำลายลงทั้งจากมนุษย์และภัยธรรมชาติ คงเหลือเพียงไม่กี่ต้นเท่านั้นที่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ในปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น