ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: lez:Улуб
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:


== ประเภทของหนังสือ ==
== ประเภทของหนังสือ ==
* แบ่งตามการเผยแพร่ เช่น[[นิตยสาร]] [[วารสาร]] [[หนังสือพิมพ์]]
* แบ่งตามการเผยแพร่ เช่น [[นิตยสาร]] [[วารสาร]] [[หนังสือพิมพ์]]
* แบ่งตามเนื้อหา เช่น [[หนังสือแบบเรียน]] [[หนังสือการ์ตูน]] [[หนังสือราชการ]] [[หนังสือภาพ]]
* แบ่งตามเนื้อหา เช่น [[หนังสือแบบเรียน]] [[หนังสือการ์ตูน]] [[หนังสือราชการ]] [[หนังสือภาพ]]


== การผลิตหนังสือ ==
== การผลิตหนังสือ ==
หนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่จัดทำโดยวิธีการพิมพ์ โดยมีเทคโนโลยีการพิมพ์หลายแบบ การผลิตหนังสือจำนวนมากมีแหล่งผลิตเรียกว่า[[โรงพิมพ์]] หรือ [[สำนักพิมพ์]] หนังสือบางส่วนที่ผลิตโดยใช้คนทำเรียกว่า [[หนังสือทำมือ]]
หนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่จัดทำโดยวิธีการพิมพ์ โดยมีเทคโนโลยีการพิมพ์หลายแบบ การผลิตหนังสือจำนวนมากมีแหล่งผลิตเรียกว่า[[โรงพิมพ์]] หรือ [[สำนักพิมพ์]] หนังสือบางส่วนที่ผลิตโดยใช้คนทำเรียกว่า [[หนังสือทำมือ]]



== การจัดเก็บหนังสือ ==
== การจัดเก็บหนังสือ ==
บรรทัด 23: บรรทัด 22:


== หนังสือในประเทศไทย ==
== หนังสือในประเทศไทย ==
[[ประเทศไทย]]ในปี [[พ.ศ. 2550]] เฉลี่ยมีหนังสือใหม่ออกมาสู่ตลาดประมาณเดือนละ 995 ชื่อเรื่อง หรือประมาณ 11,460 ชื่อเรื่องทั้งปี ซึ่งยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยทั่วประเทศมีร้านขายหนังสือประมาณ 1900 ร้าน และมีสำนักพิมพ์ประมาณ 500 แห่ง ร้านขายหนังสือที่เปิดเป็นสาขาในประเทศไทยเช่น [[ศูนย์หนังสือจุฬา]], [[ร้านนายอินทร์]],[[B2S]], [[ดอกหญ้า]] และ [[ซีเอ็ดบุคส์เซนเตอร์]] เป็นต้น สำนักพิมพ์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดในไทยปริมาณมากได้แก่ [[นานมีบุ๊คส์]] ,[[แพรวสำนักพิมพ์]],[[มติชน]] ,[[สำนักพิมพ์ใยไหม แจ่มใส พับลิชชิ่ง]] เป็นต้น งานมหกรรมนังสือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคืองาน[[สัปดาห์หนังสือแห่งชาติ]] จัดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของทุกปี โดยมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก
[[ประเทศไทย]]ในปี [[พ.ศ. 2550]] เฉลี่ยมีหนังสือใหม่ออกมาสู่ตลาดประมาณเดือนละ 995 ชื่อเรื่อง หรือประมาณ 11,460 ชื่อเรื่องทั้งปี ซึ่งยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยทั่วประเทศมีร้านขายหนังสือประมาณ 1900 ร้าน และมีสำนักพิมพ์ประมาณ 500 แห่ง ร้านขายหนังสือที่เปิดเป็นสาขาในประเทศไทยเช่น [[ศูนย์หนังสือจุฬา]], [[ร้านนายอินทร์]], [[B2S]], [[ดอกหญ้า]] และ [[ซีเอ็ดบุคส์เซนเตอร์]] เป็นต้น สำนักพิมพ์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดในไทยปริมาณมากได้แก่ [[นานมีบุ๊คส์]], [[แพรวสำนักพิมพ์]], [[มติชน]], [[สำนักพิมพ์ใยไหม]] [[สำนักพิมพ์แจ่มใส]] เป็นต้น งานมหกรรมนังสือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคืองาน[[สัปดาห์หนังสือแห่งชาติ]] จัดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของทุกปี โดยมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก
{{โครงวรรณกรรม}}


[[หมวดหมู่:หนังสือ| ]]
[[หมวดหมู่:หนังสือ| ]]
บรรทัด 31: บรรทัด 29:
[[หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์กระดาษ]]
[[หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์กระดาษ]]
[[หมวดหมู่:สื่อ]]
[[หมวดหมู่:สื่อ]]
{{โครงวรรณกรรม}}
{{Link FA|la}}
{{Link FA|la}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:22, 17 พฤษภาคม 2555

ไฟล์:2009 stapelweise Neuerscheinungen im Buchladen.JPG

หนังสือ เป็นสื่อที่รวบรวมของข้อมูล ประเภทตัวอักษร และ รูปภาพ ที่ลงในแผ่นกระดาษหรือวัสดุชนิดอื่น และรวมเข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการ เย็บเล่ม หรือ ทากาว เข้าด้วยกันที่บริเวณขอบด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีขนาดต่างๆกัน แต่มักจะไม่ทำใหญ่กว่าการจับและเปิดอ่านสะดวก หนังสือมักจะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ความรู้ วรรณกรรม ต่างๆ สำหรับหนังสือในรูปแบบที่เก็บในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์ จะเรียกว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีบุ๊ก (e-book)

การจัดพิมพ์ตามมาตรฐานจะมีหมายเลขไอเอสบีเอ็น (ISBN) เพื่อจะระบุประเทศและสำนักพิมพ์

หนังสือถือเป็นสื่อที่มีความเก่าแก่ และมีอายุยาวนานที่สุดในบรรดาสื่อทั้งหมด เคยมีการทำนายไว้ว่า เมื่อ วิทยุเกิดขึ้น หนังสือก็อาจจะหมดความสำคัญไป แต่เมื่อวิทยุถือกำเนิดขึ้นจริง หนังสือก็ยังคงได้รับความนิยมเหมือนเดิม

หลังจากนั้นมีการทำนายว่า เมื่อ โทรทัศน์ เกิดขึ้น หนังสือก็อาจจะหมดความสำคัญไป แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะหลังจาก โทรทัศน์เกิดขึ้น หนังสือก็ยังคงได้รับความสำคัญเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน

ประเภทของหนังสือ

การผลิตหนังสือ

หนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่จัดทำโดยวิธีการพิมพ์ โดยมีเทคโนโลยีการพิมพ์หลายแบบ การผลิตหนังสือจำนวนมากมีแหล่งผลิตเรียกว่าโรงพิมพ์ หรือ สำนักพิมพ์ หนังสือบางส่วนที่ผลิตโดยใช้คนทำเรียกว่า หนังสือทำมือ

การจัดเก็บหนังสือ

ในสถานที่สำคัญเช่นโรงเรียน มีการจัดเก็บหนังสือไว้ในห้องสมุด เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ โดยใครอ่านหนังสือมากๆ ก็จะเรียกว่าหนอนหนังสือ ส่วนบางคนที่ชอบการสะสมหนังสือจะมักจัดเก็บหนังสือบนชั้นวางหนังสือ หรือ ตู้หนังสือ

หนังสือในประเทศไทย

ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2550 เฉลี่ยมีหนังสือใหม่ออกมาสู่ตลาดประมาณเดือนละ 995 ชื่อเรื่อง หรือประมาณ 11,460 ชื่อเรื่องทั้งปี ซึ่งยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยทั่วประเทศมีร้านขายหนังสือประมาณ 1900 ร้าน และมีสำนักพิมพ์ประมาณ 500 แห่ง ร้านขายหนังสือที่เปิดเป็นสาขาในประเทศไทยเช่น ศูนย์หนังสือจุฬา, ร้านนายอินทร์, B2S, ดอกหญ้า และ ซีเอ็ดบุคส์เซนเตอร์ เป็นต้น สำนักพิมพ์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดในไทยปริมาณมากได้แก่ นานมีบุ๊คส์, แพรวสำนักพิมพ์, มติชน, สำนักพิมพ์ใยไหม สำนักพิมพ์แจ่มใส เป็นต้น งานมหกรรมนังสือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคืองานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ จัดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของทุกปี โดยมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก

แม่แบบ:Link FA