ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาอินทรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| name =
| name =
| image =Thunnus_orientalis_(Osaka_Kaiyukan_Aquarium).jpg
| image =Thunnus_orientalis_(Osaka_Kaiyukan_Aquarium).jpg
| image_caption = [[ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ]] (''Thunnus thynnus'') ปลาที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูคัง]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]
| image_caption = [[Thunnus thynnus|ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ]] (''Thunnus thynnus'') ปลาที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูคัง]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


}}
}}
'''วงศ์ปลาอินทรี''' ([[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]: Scombridae, {{lang-en|Mackerel}}) เป็นวงศ์ของ[[ปลากระดูกแข็ง]]วงศ์หนึ่ง จัดอยู่ใน[[อันดับปลากะพง]] (Perciformes)
'''วงศ์ปลาอินทรี''' ([[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]: Scombridae; {{lang-en|Mackerel}}) เป็นวงศ์ของ[[ปลากระดูกแข็ง]]วงศ์หนึ่ง จัดอยู่ใน[[อันดับปลากะพง]] (Perciformes) ใช้[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า Scombridae


มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวเป็นทรง[[กระสวย]] นัยน์ตากลมโต มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน โดยตอนหลังมีลักษณะแข็งและมีขนาดเล็ก มีครีบท้องและครีบก้น [[กล้ามเนื้อ]]ก่อนถึงโคนหางมี[[เนื้อเยื่อ]]ขวางอยู่เรียกว่า Keel โคนครีบหางกิ่วเล็กแต่แข็งแรง มีครีบแบ่งเป็นแฉก 2 แฉกเว้าลึก ครีบท้องขนานยาวไปกับความยาวลำตัว มีขนาดความยาวแตกต่างกันตั้งแต่ 20 [[เซนติเมตร]] ไปจนถึงเกือบ 3 [[เมตร]] บางสกุลอาจมีลวดลายตามความยาวหรือแนวลำตัว ในปากมีฟันและกรามที่แข็งแรง
มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวเป็นทรง[[กระสวย]] นัยน์ตากลมโต มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน โดยตอนหลังมีลักษณะแข็งและมีขนาดเล็ก มีครีบท้องและครีบก้น [[กล้ามเนื้อ]]ก่อนถึงโคนหางมี[[เนื้อเยื่อ]]ขวางอยู่เรียกว่า Keel โคนครีบหางกิ่วเล็กแต่แข็งแรง มีครีบแบ่งเป็นแฉก 2 แฉกเว้าลึก ครีบท้องขนานยาวไปกับความยาวลำตัว มีขนาดความยาวแตกต่างกันตั้งแต่ 20 [[เซนติเมตร]] ไปจนถึงเกือบ 3 [[เมตร]] บางสกุลอาจมีลวดลายตามความยาวหรือแนวลำตัว ในปากมีฟันและกรามที่แข็งแรง
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
โดยปลาในวงศ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อสามัญภาษาไทยโดยรวมกัน คือ [[ปลาทู]], ปลาโอ, [[ปลาทูน่า]] และ[[ปลาอินทรี]] เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า Mackerel เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นปลาที่[[มนุษย์]]ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสุดหรือ[[อาหารกระป๋อง]] รวมทั้งทำ[[อาหารสัตว์]] และตกกันเป็น[[ตกปลา|เกมกีฬา]]ด้วย
โดยปลาในวงศ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อสามัญภาษาไทยโดยรวมกัน คือ [[ปลาทู]], ปลาโอ, [[ปลาทูน่า]] และ[[ปลาอินทรี]] เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า Mackerel เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นปลาที่[[มนุษย์]]ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสุดหรือ[[อาหารกระป๋อง]] รวมทั้งทำ[[อาหารสัตว์]] และตกกันเป็น[[ตกปลา|เกมกีฬา]]ด้วย


ปัจจุบันแบ่งออกได้เป็น 55 [[สปีชีส์|ชนิด]] 15 [[genus|สกุล]] และแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ [[ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ]] (''Thunnus thynnus'') ที่มีรายงานยาวเต็มที่ที่เคยพบคือ 458 เซนติเมตร และมี[[น้ำหนัก]]ถึง 684 [[กิโลกรัม]]<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:K6Wdp7PR-XwJ:www.fisheries.go.th/marine/DeepSea/images/%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2.pdf+Scombridae+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESg5BZ3RsAF213G2X-04vYhHpu-cwGMCUqI_9gpLuCDB8oeQFCRP7b3JYrO8j-8ycJvEX7FAv9rt4owiSOJTcjJkaaRlq6znE8_drR9yCs9Fz7s7AFinRqqTv_EC9GuJMvP8aH6j&sig=AHIEtbRk5nfwbPVZqQEpD63pcEOIl8_TtQ ปลาทูน่า (เอกสาร[[ดาวน์โหลด]])]</ref>
ปัจจุบันแบ่งออกได้เป็น 55 [[สปีชีส์|ชนิด]] 15 [[genus|สกุล]] และแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ [[Thunnus thynnus|ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ]] (''Thunnus thynnus'') ที่มีรายงานยาวเต็มที่ที่เคยพบคือ 458 เซนติเมตร และมี[[น้ำหนัก]]ถึง 684 [[กิโลกรัม]]<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:K6Wdp7PR-XwJ:www.fisheries.go.th/marine/DeepSea/images/%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2.pdf+Scombridae+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESg5BZ3RsAF213G2X-04vYhHpu-cwGMCUqI_9gpLuCDB8oeQFCRP7b3JYrO8j-8ycJvEX7FAv9rt4owiSOJTcjJkaaRlq6znE8_drR9yCs9Fz7s7AFinRqqTv_EC9GuJMvP8aH6j&sig=AHIEtbRk5nfwbPVZqQEpD63pcEOIl8_TtQ ปลาทูน่า (เอกสาร[[ดาวน์โหลด]])]</ref>


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:44, 10 พฤษภาคม 2555

วงศ์ปลาอินทรี
ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ (Thunnus thynnus) ปลาที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ ในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูคัง ประเทศญี่ปุ่น
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Scombridae
วงศ์ย่อย:
สกุล
ชื่อพ้อง
  • Cybiidae
  • Thunnidae

วงศ์ปลาอินทรี (วงศ์: Scombridae; อังกฤษ: Mackerel) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scombridae

มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวเป็นทรงกระสวย นัยน์ตากลมโต มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน โดยตอนหลังมีลักษณะแข็งและมีขนาดเล็ก มีครีบท้องและครีบก้น กล้ามเนื้อก่อนถึงโคนหางมีเนื้อเยื่อขวางอยู่เรียกว่า Keel โคนครีบหางกิ่วเล็กแต่แข็งแรง มีครีบแบ่งเป็นแฉก 2 แฉกเว้าลึก ครีบท้องขนานยาวไปกับความยาวลำตัว มีขนาดความยาวแตกต่างกันตั้งแต่ 20 เซนติเมตร ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร บางสกุลอาจมีลวดลายตามความยาวหรือแนวลำตัว ในปากมีฟันและกรามที่แข็งแรง

มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ในทะเลเปิดในเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่มีการอพยพย้ายถิ่น ในปลาขนาดเล็กกินแพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า และในปลาขนาดใหญ่จะไล่กินปลาขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ว่ายน้ำได้อย่างรวดเร็ว เพราะใช้ครีบและหางแนบกับลำตัวเมื่อว่ายน้ำ โดยมีสถิติสูงสุดที่บันทึกได้คือ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง[1]

โดยปลาในวงศ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อสามัญภาษาไทยโดยรวมกัน คือ ปลาทู, ปลาโอ, ปลาทูน่า และปลาอินทรี เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า Mackerel เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นปลาที่มนุษย์ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสุดหรืออาหารกระป๋อง รวมทั้งทำอาหารสัตว์ และตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย

ปัจจุบันแบ่งออกได้เป็น 55 ชนิด 15 สกุล และแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ (Thunnus thynnus) ที่มีรายงานยาวเต็มที่ที่เคยพบคือ 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Johnson, G.D. & Gill, A.C. (1998). Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N.. ed. Encyclopedia of Fishes. San Diego: Academic Press. pp. 190. ISBN 0-12-547665-5
  2. ปลาทูน่า (เอกสารดาวน์โหลด)

แหล่งข้อมูลอื่น