ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัครบิดร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อัครบิดร'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref> ({{lang-en|patriarch}}) ชาว[[โปรเตสแตนต์ในประเทศไทย]]เรียกว่า'''อัครปิตา''' ส่วนชาว[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]]เรียกว่า'''พระอัยกา''' ถือเป็นตำแหน่ง[[มุขนายก]]ชั้นสูงสุดในบาง[[คริสตจักร]] เช่น [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] [[ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์]] [[โรมันคาทอลิก]] และ[[อัสซีเรียนแห่งตะวันออก]]
'''อัครบิดร''' ({{lang-en|patriarch}}) เป็นตำแหน่งทางการปกครองภายใน[[คริสต์ศาสนา]]บางนิกาย โดยเฉพาะใน[[นิกายออร์โธด็อกซ์]] และ[[โรมันคาทอลิก]]

แต่เดิม[[คัมภีร์ไบเบิล]]ช้คำนี้เพื่อหมายถึง [[อับราฮัม]] [[อิสอัค]] และ[[ยาโคบ]] ผู้เป็นบรรพบุรุษของชาวอิสราเอล และเรียกยุคที่ทั้งสามคนนี้มีชีวิตอยู่ว่า[[ยุคอัครบิดร]]


==ประวัติ==
==ประวัติ==
[[ไฟล์:Bartolomew I.jpg|150px|thumb|right|'''สกลอัครบิดร บาร์โธโลมิวที่ 1''' ประมุขเขตอัครบิดรกรุงคอนสแตนติโนเปิลองค์ปัจจุบัน]]
[[ไฟล์:Bartolomew I.jpg|150px|thumb|right|'''อัครบิดรสากลบาร์โธโลมิวที่ 1''' ประมุข[[เขตอัครบิดรสากลคอนสแตนติโนเปิล]]องค์ปัจจุบัน]]
หลังการสังคายนาแห่งไนซีนในปี [[ค.ศ. 325]] ได้มีการแบ่งเขตการปกครองภายใน[[คริสตจักร]]ออกเป็น 3 เขต ได้แก่ [[เขตอัครบิดร]][[กรุงโรม]] [[เขตอัครบิดร]][[เล็กซานเดรีย]] และ[[เขตอัครบิดร]][[แอนติออก]] (Antioch) แต่ละเขตมีอัครบิดรเป็นประมุข โดยถือเอาอัครบิดรแห่งกรุงโรมเป็น[[สมเด็จพระสันตะปาปา]] เป็นประมุขสูงสุดในคริสตจักรสากล ต่อมามีการสังคายนาแห่งแคลสิโดเนียกำหนดให้มีเขตอัครบิดร[[กรุงเยรูซาเล็ม]] และเขตอัครบิดร[[กรุงคอนสแตนติโนเปิล]] แยกออกมาจากเขตอัครบิดรเมืองแอนติออก ทำให้ได้เขตอัครบิดร 5 เขต และมีอัครบิดร 5 คนในคริสตจักร โดยอัครบิดรแห่งโรมยังคงเป็นประมุขสูงสุดใน[[คริสตจักรสากล]] (Ecumenical church) และอัครบิดรกรุงคอนสแตนติโนเปิลเป็นรอง แต่ถือว่าเป็นใหญ่สุดในคริสตจักรตะวันออกซึ่งใช้ภาษากรีก ทำให้ในทางปฏิบัติอัครบิดรกรุงคอนสแตนติโนเปิลมีอิทธิพลมากกว่า<ref name="แก่นปรัชญายุคกลาง">กีรติ บุญเจือ, ''แก่นปรัชญายุคกลาง'', จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 164</ref>
หลังการสังคายนาแห่งไนซีนในปี [[ค.ศ. 325]] ได้มีการแบ่งเขตการปกครองภายใน[[คริสตจักร]]ออกเป็น 3 เขต ได้แก่ [[เขตอัครบิดร]][[โรม]] [[เขตอัครบิดร]][[อะเล็กซานเดรีย]] และ[[เขตอัครบิดร]][[แอนติออก]] แต่ละเขตมีอัครบิดรเป็นประมุข โดยถือเอาอัครบิดรแห่งกรุงโรมเป็น[[พระสันตะปาปา]]หรือประมุขสูงสุดในคริสตจักรสากล ต่อมามีการสังคายนาแห่งแคลสิโดเนียกำหนดให้มีเขตอัครบิดร[[เยรูซาเลม]] และเขตอัครบิดร[[คอนสแตนติโนเปิล]] แยกออกมาจากเขตอัครบิดรเมืองแอนติออก ทำให้ได้เขตอัครบิดร 5 เขต และมีอัครบิดร 5 คนในคริสตจักร โดยอัครบิดรแห่งโรมยังคงเป็นประมุขสูงสุดใน[[คริสตจักรสากล]] (Ecumenical church) และอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลเป็นรอง แต่ถือว่าเป็นใหญ่สุดใน[[คริสตจักรตะวันออก]]ซึ่งใช้ภาษากรีก ทำให้ในทางปฏิบัติอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลมีอิทธิพลมากกว่า<ref name="แก่นปรัชญายุคกลาง">กีรติ บุญเจือ, ''แก่นปรัชญายุคกลาง'', จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 164</ref>


ต่อมาเขตอัครบิดรแอนติออกยังถูกแบ่งออกเป็น 3 เขตตามภาษาพิธีกรรม คือ อัครบิดรเมลไคต์ (Melkite) เขตอัครบิดรมาโรไนต์ (Maroniite) และเขตอัครบิดรซีเรียน เขตอัครบิดรกรุงโรมก็แบ่งเป็นอีก 3 เขตพิเศษ คือ เขตอัครบิดรเวนิซ เขตอัครบิดรลิสบอน และเขตอัครบิดรกัว<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref>
ต่อมาเขตอัครบิดรแอนติออกยังถูกแบ่งออกเป็น 3 เขตตามภาษาพิธีกรรม คือ อัครบิดรเมลไคต์ (Melkite) เขตอัครบิดรมาโรไนต์ (Maroniite) และเขตอัครบิดรซีเรียน เขตอัครบิดรกรุงโรมก็แบ่งเป็นอีก 3 เขตพิเศษ คือ เขตอัครบิดรเวนิซ เขตอัครบิดรลิสบอน และเขตอัครบิดรกัว<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref>


เมื่อ[[คริสตจักร]]แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือฝ่ายตะวันตกกลายเป็น[[นิกายโรมันคาทอลิก]] ส่วนฝ่ายตะวันออกเป็น[[นิกายออร์โธด็อกซ์]] เมื่อนิกายออร์ทอดอกซ์แพร่หลายไปยังท้องที่อื่นในภูมิภาคตะวันออก จึงเกิดเขตอัครบิดรต่างๆ มากขึ้น เช่น อาร์เมเนีย รัสเซีย เซอร์เบีย โรมาเนีย เป็นต้น โดยให้เกียรติอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลเป็นประธาน แต่ไม่ถือว่าเป็นประมุขสูงสุด
เมื่อ[[คริสตจักร]]แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือฝ่ายตะวันตกกลายเป็นนิกาย[[โรมันคาทอลิก]] ส่วนฝ่ายตะวันออกเป็นนิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] เมื่อนิกายออร์ทอดอกซ์แพร่หลายไปยังท้องที่อื่นในภูมิภาคตะวันออก จึงเกิดเขตอัครบิดรต่าง ๆ มากขึ้น เช่น อาร์เมเนีย รัสเซีย เซอร์เบีย โรมาเนีย เป็นต้น โดยให้เกียรติอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลเป็นประธาน แต่ไม่ถือว่าเป็นประมุขสูงสุด


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

* [[นักบวช]]
* [[มุขนายก]]
* [[มุขนายก]]
* [[เขตอัครบิดร]]
* [[บาทหลวง]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:ระบบการปกครองของศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:มุขนายก]]
[[หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในศาสนา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในศาสนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:21, 27 เมษายน 2555

อัครบิดร[1] (อังกฤษ: patriarch) ชาวโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยเรียกว่าอัครปิตา ส่วนชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกา ถือเป็นตำแหน่งมุขนายกชั้นสูงสุดในบางคริสตจักร เช่น อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก และอัสซีเรียนแห่งตะวันออก

แต่เดิมคัมภีร์ไบเบิลช้คำนี้เพื่อหมายถึง อับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ผู้เป็นบรรพบุรุษของชาวอิสราเอล และเรียกยุคที่ทั้งสามคนนี้มีชีวิตอยู่ว่ายุคอัครบิดร

ประวัติ

อัครบิดรสากลบาร์โธโลมิวที่ 1 ประมุขเขตอัครบิดรสากลคอนสแตนติโนเปิลองค์ปัจจุบัน

หลังการสังคายนาแห่งไนซีนในปี ค.ศ. 325 ได้มีการแบ่งเขตการปกครองภายในคริสตจักรออกเป็น 3 เขต ได้แก่ เขตอัครบิดรโรม เขตอัครบิดรอะเล็กซานเดรีย และเขตอัครบิดรแอนติออก แต่ละเขตมีอัครบิดรเป็นประมุข โดยถือเอาอัครบิดรแห่งกรุงโรมเป็นพระสันตะปาปาหรือประมุขสูงสุดในคริสตจักรสากล ต่อมามีการสังคายนาแห่งแคลสิโดเนียกำหนดให้มีเขตอัครบิดรเยรูซาเลม และเขตอัครบิดรคอนสแตนติโนเปิล แยกออกมาจากเขตอัครบิดรเมืองแอนติออก ทำให้ได้เขตอัครบิดร 5 เขต และมีอัครบิดร 5 คนในคริสตจักร โดยอัครบิดรแห่งโรมยังคงเป็นประมุขสูงสุดในคริสตจักรสากล (Ecumenical church) และอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลเป็นรอง แต่ถือว่าเป็นใหญ่สุดในคริสตจักรตะวันออกซึ่งใช้ภาษากรีก ทำให้ในทางปฏิบัติอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลมีอิทธิพลมากกว่า[2]

ต่อมาเขตอัครบิดรแอนติออกยังถูกแบ่งออกเป็น 3 เขตตามภาษาพิธีกรรม คือ อัครบิดรเมลไคต์ (Melkite) เขตอัครบิดรมาโรไนต์ (Maroniite) และเขตอัครบิดรซีเรียน เขตอัครบิดรกรุงโรมก็แบ่งเป็นอีก 3 เขตพิเศษ คือ เขตอัครบิดรเวนิซ เขตอัครบิดรลิสบอน และเขตอัครบิดรกัว[1]

เมื่อคริสตจักรแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือฝ่ายตะวันตกกลายเป็นนิกายโรมันคาทอลิก ส่วนฝ่ายตะวันออกเป็นนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เมื่อนิกายออร์ทอดอกซ์แพร่หลายไปยังท้องที่อื่นในภูมิภาคตะวันออก จึงเกิดเขตอัครบิดรต่าง ๆ มากขึ้น เช่น อาร์เมเนีย รัสเซีย เซอร์เบีย โรมาเนีย เป็นต้น โดยให้เกียรติอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลเป็นประธาน แต่ไม่ถือว่าเป็นประมุขสูงสุด

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6
  2. กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 164