ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร้านนายอินทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิง
Uniquenth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ร้านนายอินทร์]]<ref>[http://www.naiin.com/ ร้านนายอินทร์]</ref> เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด '''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' เป็นครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2542 ต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน (ครั้งที่ 9 - พ.ศ. 2550)
[[ร้านนายอินทร์]]<ref>[http://www.naiin.com/ ร้านนายอินทร์]</ref> เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด '''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2542 นั้น ร้านนายอินทร์ริเริ่มโครงการประกวดรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ด้วยการจัดประกวดต้นฉบับ ประเภทสารคดีเป็นประเภทแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 จึงเพิ่มประเภทของประกวดเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก และวรรณกรรมเยาวชนด้วย กระทั่งปีพุทธศักราช 2548 จึงได้จัดประกวดประเภท เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ และนวนิยาย รวมประเภทการประกวดจากอดีตถึงปัจจุบันคือ 6 ประเภท<ref>http://amarinpocketbook.com/AwardItem.aspx?AID=1</ref>



'''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' กำหนดรับผลงานต่างๆเข้าประกวดล่วงหน้า 1 ปี มีกำหนดปิดรับผลงานภายในพฤศจิกายนของปีก่อนหน้า และประกาศผลรางวัลในเดือนมิถุนายน หรือกรกฎาคมของปีที่ประกาศรางวัล
'''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' กำหนดรับผลงานต่างๆเข้าประกวดล่วงหน้า 1 ปี มีกำหนดปิดรับผลงานภายในพฤศจิกายนของปีก่อนหน้า และประกาศผลรางวัลในเดือนมิถุนายน หรือกรกฎาคมของปีที่ประกาศรางวัล อย่างไรก็ตาม ในแต่ละปีอาจไม่มีผลงานใดที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมของการประกวดประเภทนั้นเลย


==ประเภทของรางวัล==
==ประเภทของรางวัล==
'''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' แบ่งประเภทของผลงานที่เข้าประกวดเป็น 6 ประเภท ดังนี้
'''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' แบ่งประเภทของผลงานที่เข้าประกวดเป็น 6 ประเภท ดังนี้
* [[สารคดี]]
* [[สารคดี]]
ปี 2543
สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2543 ได้แก่ ภูฏาน มนต์เสน่ห์ในอ้อมกอดหิมาลัย โดย พิสมัย จันทวิมล
รางวัลพิเศษ ได้แก่ กล่องไปรษณีย์สีแดง โดย อภิชาติ เพชรลีลา
สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ จากอาสำถึงหยำฉ่า ตำนานคนกวางตุ้งกรุงสยาม โดย ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง

ปี 2544
สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ ตะลุยแคชเมียร์ โดย เปรมฤทัย โตกิจเจริญ
สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ สิบทะเล โดย ธิดารัตน์ น้อยสุวรรณ

ปี 2545
สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2545 ได้แก่ ฮูย่า! Tadpole ไอ้ลูกกบ โดย อุดมพร สมพงษ์
สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ diet diary ไม่เหลือบ่ากว่าแรง โดย เชาวฤทธิ์ ตั้งโชคประเสริฐ

ปี 2546
สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2546 ได้แก่ คูนดอกสุดท้าย โดย จุลินทร์ ศรีสะอาด
สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บ้านไม้ริมทางรถไฟ โดย ราชศักดิ์

ปี 2547
สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2547 ได้แก่ เย็นวันเสาร์ เช้าวันอาทิตย์ ของ คามิน คมนีย์
สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บางปู นกนางนวล และผองเพื่อนนกน้ำอพยพ โดย พอพล นนทภา

ปี 2548
สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ ญี่ปุ่นหลากมุม โดย โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์
สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ เล่นกับโลกไกลบ้าน โดย กิจการ ช่วยชูวงศ์

ปี 2549
สารคดีรางวัลรองชนะเลิศ ได้แก่ ต้นทางจากมะละแหม่ง โดย องค์ บรรจุน
สารคดีรางวัลรองชนะเลิศ ได้แก่ เนปาล จักรวาลกลางอ้อมกอดของขุนเขา โดย เกรียงไกร เกิดศิริ

ปี 2550
ไม่มีผลงานใดได้รับรางวัล

ปี 2551
ไม่มีผลงานใดได้รับรางวัล

ปี 2552
สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่เรื่อง แม่น้ำสีเขียวคราม โดย บำเพ็ญ ไชยรักษ์

* [[วรรณกรรมเยาวชน]]
* [[วรรณกรรมเยาวชน]]
* หนังสือภาพสำหรับเด็ก
* หนังสือภาพสำหรับเด็ก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:07, 22 เมษายน 2555

ร้านนายอินทร์[1] เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2542 นั้น ร้านนายอินทร์ริเริ่มโครงการประกวดรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ด้วยการจัดประกวดต้นฉบับ ประเภทสารคดีเป็นประเภทแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 จึงเพิ่มประเภทของประกวดเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก และวรรณกรรมเยาวชนด้วย กระทั่งปีพุทธศักราช 2548 จึงได้จัดประกวดประเภท เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ และนวนิยาย รวมประเภทการประกวดจากอดีตถึงปัจจุบันคือ 6 ประเภท[2]


รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด กำหนดรับผลงานต่างๆเข้าประกวดล่วงหน้า 1 ปี มีกำหนดปิดรับผลงานภายในพฤศจิกายนของปีก่อนหน้า และประกาศผลรางวัลในเดือนมิถุนายน หรือกรกฎาคมของปีที่ประกาศรางวัล อย่างไรก็ตาม ในแต่ละปีอาจไม่มีผลงานใดที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมของการประกวดประเภทนั้นเลย

ประเภทของรางวัล

รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด แบ่งประเภทของผลงานที่เข้าประกวดเป็น 6 ประเภท ดังนี้

ปี 2543 สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2543 ได้แก่ ภูฏาน มนต์เสน่ห์ในอ้อมกอดหิมาลัย โดย พิสมัย จันทวิมล รางวัลพิเศษ ได้แก่ กล่องไปรษณีย์สีแดง โดย อภิชาติ เพชรลีลา สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ จากอาสำถึงหยำฉ่า ตำนานคนกวางตุ้งกรุงสยาม โดย ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง

ปี 2544 สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ ตะลุยแคชเมียร์ โดย เปรมฤทัย โตกิจเจริญ สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ สิบทะเล โดย ธิดารัตน์ น้อยสุวรรณ

ปี 2545 สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2545 ได้แก่ ฮูย่า! Tadpole ไอ้ลูกกบ โดย อุดมพร สมพงษ์ สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ diet diary ไม่เหลือบ่ากว่าแรง โดย เชาวฤทธิ์ ตั้งโชคประเสริฐ

ปี 2546 สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2546 ได้แก่ คูนดอกสุดท้าย โดย จุลินทร์ ศรีสะอาด สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บ้านไม้ริมทางรถไฟ โดย ราชศักดิ์

ปี 2547 สารคดียอดเยี่ยม ประจำปี 2547 ได้แก่ เย็นวันเสาร์ เช้าวันอาทิตย์ ของ คามิน คมนีย์ สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บางปู นกนางนวล และผองเพื่อนนกน้ำอพยพ โดย พอพล นนทภา

ปี 2548 สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ ญี่ปุ่นหลากมุม โดย โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์ สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ เล่นกับโลกไกลบ้าน โดย กิจการ ช่วยชูวงศ์

ปี 2549 สารคดีรางวัลรองชนะเลิศ ได้แก่ ต้นทางจากมะละแหม่ง โดย องค์ บรรจุน สารคดีรางวัลรองชนะเลิศ ได้แก่ เนปาล จักรวาลกลางอ้อมกอดของขุนเขา โดย เกรียงไกร เกิดศิริ

ปี 2550 ไม่มีผลงานใดได้รับรางวัล

ปี 2551 ไม่มีผลงานใดได้รับรางวัล

ปี 2552 สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่เรื่อง แม่น้ำสีเขียวคราม โดย บำเพ็ญ ไชยรักษ์

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง