ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีออน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: thumb|right|An [[atomic nucleus is a compact bundle of the two types of nucleons: Protons (red) and neutrons (blue). In this picture...
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Nucleus drawing.png|thumb|right|An [[atomic nucleus]] is a compact bundle of the two types of nucleons: [[Proton]]s (red) and [[neutron]]s (blue). In this picture, the protons and neutrons look like little balls stuck together, but an actual nucleus, as understood by modern [[nuclear physics]], does not look like this. An actual nucleus can only be accurately described using [[quantum mechanics]]. For example, in a real nucleus, each nucleon is in multiple locations at once, spread throughout the nucleus.]]
[[File:Nucleus drawing.png|thumb|right|An [[atomic nucleus]] is a compact bundle of the two types of nucleons: [[Proton]]s (red) and [[neutron]]s (blue). In this picture, the protons and neutrons look like little balls stuck together, but an actual nucleus, as understood by modern [[nuclear physics]], does not look like this. An actual nucleus can only be accurately described using [[quantum mechanics]]. For example, in a real nucleus, each nucleon is in multiple locations at once, spread throughout the nucleus.]]


'''นิวคลีออน''' ({{Nucleon}}) คืออนุภาคจำพวกหนึ่งที่ประกอบขึ้นเป็น[[นิวเคลียสอะตอม]] นิวเคลียสอะตอมแต่ละตัวประกอบด้วยนิวคลีออนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น และในทำนองเดียวกันอะตอมแต่ละตัวก็ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของนิวคลีออนที่ล้อมรอบด้วยอิเล็กตรอนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น นิวคลีออนมีอยู่ 2 ประเภท : คือ[[นิวตรอน]] และ[[โปรตอน]] [[เลขมวล]]ของไอโซโทปอะตอมหนึ่งๆ จะมีค่าเท่ากันกับจำนวนของนิวคลีออนของไอโซโทปอะตอมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ เราจึงสามารถใช้เลขนิวคลีออนแทนที่เลขมวลหรือเลขมวลอะตอมซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางก็ได้
'''นิวคลีออน''' ({{lang-en|Nucleon}}) คืออนุภาคจำพวกหนึ่งที่ประกอบขึ้นเป็น[[นิวเคลียสอะตอม]] นิวเคลียสอะตอมแต่ละตัวประกอบด้วยนิวคลีออนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น และในทำนองเดียวกันอะตอมแต่ละตัวก็ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของนิวคลีออนที่ล้อมรอบด้วยอิเล็กตรอนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น นิวคลีออนมีอยู่ 2 ประเภท : คือ[[นิวตรอน]] และ[[โปรตอน]] [[เลขมวล]]ของไอโซโทปอะตอมหนึ่งๆ จะมีค่าเท่ากันกับจำนวนของนิวคลีออนของไอโซโทปอะตอมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ เราจึงสามารถใช้เลขนิวคลีออนแทนที่เลขมวลหรือเลขมวลอะตอมซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางก็ได้


ก่อนจะถึงทศวรรษ 1960 เคยเชื่อกันว่านิวคลีออนเป็น[[อนุภาคมูลฐาน]] ซึ่งไม่อาจประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนอื่นใดที่เล็กไปกว่านั้นอีกแล้ว แต่ปัจจุบันเราทราบกันแล้วว่ามันเป็น[[อนุภาคประกอบ]] ซึ่งเกิดจาก[[ควาร์ก]]สามตัวเกาะเข้าด้วยกันด้วยสิ่งที่เรียกว่า[[อันตรกิริยาชนิดเข้ม]] อันตรกิริยาระหว่างนิวคลีออนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเรียกว่า internucleon interaction หรือ[[แรงนิวเคลียร์]] ซึ่งเกิดขึ้นจากอันตรกิริยาชนิดเข้มนั่นเอง (แต่เดิมก่อนมีการค้นพบควาร์ก คำว่า "อันตรกิริยาชนิดเข้ม" มีความหมายถึงเพียง internucleon interaction เท่านั้น)
ก่อนจะถึงทศวรรษ 1960 เคยเชื่อกันว่านิวคลีออนเป็น[[อนุภาคมูลฐาน]] ซึ่งไม่อาจประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนอื่นใดที่เล็กไปกว่านั้นอีกแล้ว แต่ปัจจุบันเราทราบกันแล้วว่ามันเป็น[[อนุภาคประกอบ]] ซึ่งเกิดจาก[[ควาร์ก]]สามตัวเกาะเข้าด้วยกันด้วยสิ่งที่เรียกว่า[[อันตรกิริยาชนิดเข้ม]] อันตรกิริยาระหว่างนิวคลีออนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเรียกว่า internucleon interaction หรือ[[แรงนิวเคลียร์]] ซึ่งเกิดขึ้นจากอันตรกิริยาชนิดเข้มนั่นเอง (แต่เดิมก่อนมีการค้นพบควาร์ก คำว่า "อันตรกิริยาชนิดเข้ม" มีความหมายถึงเพียง internucleon interaction เท่านั้น)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:55, 20 เมษายน 2555

An atomic nucleus is a compact bundle of the two types of nucleons: Protons (red) and neutrons (blue). In this picture, the protons and neutrons look like little balls stuck together, but an actual nucleus, as understood by modern nuclear physics, does not look like this. An actual nucleus can only be accurately described using quantum mechanics. For example, in a real nucleus, each nucleon is in multiple locations at once, spread throughout the nucleus.

นิวคลีออน (อังกฤษ: Nucleon) คืออนุภาคจำพวกหนึ่งที่ประกอบขึ้นเป็นนิวเคลียสอะตอม นิวเคลียสอะตอมแต่ละตัวประกอบด้วยนิวคลีออนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น และในทำนองเดียวกันอะตอมแต่ละตัวก็ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของนิวคลีออนที่ล้อมรอบด้วยอิเล็กตรอนหนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น นิวคลีออนมีอยู่ 2 ประเภท : คือนิวตรอน และโปรตอน เลขมวลของไอโซโทปอะตอมหนึ่งๆ จะมีค่าเท่ากันกับจำนวนของนิวคลีออนของไอโซโทปอะตอมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ เราจึงสามารถใช้เลขนิวคลีออนแทนที่เลขมวลหรือเลขมวลอะตอมซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางก็ได้

ก่อนจะถึงทศวรรษ 1960 เคยเชื่อกันว่านิวคลีออนเป็นอนุภาคมูลฐาน ซึ่งไม่อาจประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนอื่นใดที่เล็กไปกว่านั้นอีกแล้ว แต่ปัจจุบันเราทราบกันแล้วว่ามันเป็นอนุภาคประกอบ ซึ่งเกิดจากควาร์กสามตัวเกาะเข้าด้วยกันด้วยสิ่งที่เรียกว่าอันตรกิริยาชนิดเข้ม อันตรกิริยาระหว่างนิวคลีออนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเรียกว่า internucleon interaction หรือแรงนิวเคลียร์ ซึ่งเกิดขึ้นจากอันตรกิริยาชนิดเข้มนั่นเอง (แต่เดิมก่อนมีการค้นพบควาร์ก คำว่า "อันตรกิริยาชนิดเข้ม" มีความหมายถึงเพียง internucleon interaction เท่านั้น)

ทั้งโปรตอนและนิวตรอนล้วนเป็นแบริออน และก็เป็นเฟอร์มิออนด้วย ตามคำนิยามของฟิสิกส์อนุภาค อนุภาคทั้งสองนี้ประกอบกันเป็น isospin doublet ซึ่งเป็นคำอธิบายว่าทำไมมวลของพวกมันจึงเกือบเท่ากัน โดยที่นิวตรอนหนักกว่าโปรตอนราว 0.1% เท่านั้น

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • A.W. Thomas and W.Weise, The Structure of the Nucleon, (2001) Wiley-WCH, Berlin, ISBN ISBN 3-527-40297-7
  • YAN Kun. Equation of average binding energy per nucleon. doi:10.3969/j.issn.1004-2903.2011.01.018

อ้างอิง