ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บานเย็น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
| species = Mirabilis jalapa
| species = Mirabilis jalapa
}}
}}
{{ขยายความ}}
'''บานเย็น''' (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Mirabilis jalapa'' L.; ชื่อสามัญ: Four-o’clocks; Marvel of Peru) เป็น[[พืชดอก]] ที่ขยายพันธุ์โดย[[การเพาะเมล็ด]]


บานเย็น (''Mirabilis jalapa'') เป็นไม้ดอกในสกุล ''Mirabilis'' ที่นิยมปลูกมากที่สุด มีสีดอกที่หลากหลาย กล่าวกันว่าบานเย็นถูกนำออกมาจากถิ่นกำเนิดในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ในเปรู ช่วงปี ค.ศ. 1540 คำว่า ''Mirabilis'' ในภาษาละตินหมายถึง ยอดเยี่ยม, สวยงาม, มหัศจรรย์ ส่วนคำว่า Jalapa เป็นชื่อเมืองแห่งหนึ่งในประเทศเม็กซิโก
'''บานเย็น''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Mirabilis jalapa}}L.; ชื่อสามัญ: Four-o’clocks; Marvel of Peru) เป็นไม้ดอกในสกุล ''Mirabilis'' ที่นิยมปลูกมากที่สุด มีสีดอกที่หลากหลาย กล่าวกันว่าบานเย็นถูกนำออกมาจากถิ่นกำเนิดในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ในเปรู ช่วงปี ค.ศ. 1540 คำว่า ''Mirabilis'' ในภาษาละตินหมายถึง ยอดเยี่ยม, สวยงาม, มหัศจรรย์ ส่วนคำว่า Jalapa เป็นชื่อเมืองแห่งหนึ่งในประเทศเม็กซิโก


=== ดอกและสีดอก ===
=== ดอกและสีดอก ===
ความน่าสนใจของบานเย็นคือ เป็นไม้ดอกที่สามารถมีดอกหลายสีอยู่บนต้นเดียวกันพร้อมๆ กันได้ นอกจากนี้ในแต่ละดอกอาจมีหลายสีปนกันอยู่ได้เช่นกัน จุดสนใจอีกประการหนึ่งคือการที่สีดอกจะเปลี่ยนไปเมื่อต้นบานเย็นมีอายุมากขึ้น เช่น บานเย็นพันธุ์ดอกเหลือง สีของดอกอาจค่อยๆ เปลี่ยนเป็นชมพูเข้ม หรือ พันธุ์ดอกขาวอาจจะเปลี่ยนเป็นม่วงอ่อนได้
ความน่าสนใจของบานเย็นคือ เป็นไม้ดอกที่สามารถมีดอกหลายสีอยู่บนต้นเดียวกันพร้อมๆ กันได้ นอกจากนี้ในแต่ละดอกอาจมีหลายสีปนกันอยู่ได้เช่นกัน จุดสนใจอีกประการหนึ่งคือการที่สีดอกจะเปลี่ยนไปเมื่อต้นบานเย็นมีอายุมากขึ้น เช่น บานเย็นพันธุ์ดอกเหลือง สีของดอกอาจค่อยๆ เปลี่ยนเป็นชมพูเข้ม หรือ พันธุ์ดอกขาวอาจจะเปลี่ยนเป็นม่วงอ่อนได้


ดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลาบ่ายแก่ๆ เป็นต้นไป จึงเป็นที่มาของชื่อไทยว่า "บานเย็น" หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "ดอกสี่โมง" (four o'clock flower) เมื่อดอกบานจะมีกลิ่นหอมจัดแบบกลิ่นหอมหวานๆ
ดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลาบ่ายแก่ๆ เป็นต้นไป จึงเป็นที่มาของชื่อไทยว่า "บานเย็น" หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "ดอกสี่โมง" (four o'clock flower) เมื่อดอกบานจะมีกลิ่นหอมจัดแบบกลิ่นหอมหวานๆในประเทศจีน เรียกบานเย็นว่า "ดอกสายฝน" (shower flower) หรือ "ดอกหุงข้าว" (rice boiling flower) เพราะดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลานั้น ส่วนในฮ่องกง เรียกว่า "มะลิม่วง" (purple jasmine)

ในประเทศจีน เรียกบานเย็นว่า "ดอกสายฝน" (shower flower) หรือ "ดอกหุงข้าว" (rice boiling flower) เพราะดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลานั้น ส่วนในฮ่องกง เรียกว่า "มะลิม่วง" (purple jasmine)


ส่วนของกลีบดอกที่เห็นเป็นสีต่างๆ นั้น แท้จริงแล้วไม่ใช่กลีบดอกแท้ แต่เป็นส่วนกลีบเลี้ยง (calyx) ที่เปลี่ยนรูปไปจากปกติและมีเม็ดสี (pigments) การผสมเกสรเกิดโดยแมลงกลางคืนชนิดที่มีลิ้นยาวซึ่งถูกดึงดูดมาหาดอกบานเย็นโดยกลิ่นหอมที่ปล่อยออกมานั่นเอง
ส่วนของกลีบดอกที่เห็นเป็นสีต่างๆ นั้น แท้จริงแล้วไม่ใช่กลีบดอกแท้ แต่เป็นส่วนกลีบเลี้ยง (calyx) ที่เปลี่ยนรูปไปจากปกติและมีเม็ดสี (pigments) การผสมเกสรเกิดโดยแมลงกลางคืนชนิดที่มีลิ้นยาวซึ่งถูกดึงดูดมาหาดอกบานเย็นโดยกลิ่นหอมที่ปล่อยออกมานั่นเอง
บรรทัด 37: บรรทัด 33:


=== การใช้ประโยชน์ ===
=== การใช้ประโยชน์ ===
* ดอกบานเย็น ใช้ทำสีผสมอาหารสีแดงเข้ม ซึ่งมักใช้แต่งสีเค้กและเจลลี่
* ดอกบานเย็น ใช้ทำสีผสมอาหารสีแดงเข้ม ซึ่งมักใช้แต่งสีเค้กและเจลลี่<ref name='pfaf'>http://www.pfaf.org/user/Plant.aspx?LatinName=Mirabilis%20jalapa</ref>
* ใบ กินสุกได้ แต่ควรกินเมื่อจำเป็นเท่านั้น
* ใบ กินสุกได้ แต่ควรกินเมื่อจำเป็นเท่านั้น<ref name='pfaf'/>
* ส่วนต่างๆ ของต้นบานเย็นนำไปใช้ในยาขับปัสสาวะ ยาระบาย และรักษาแผล ส่วนรากเชื่อว่ามีสรรพคุณเพิ่มสมรรถนะทางเพศ และออกฤทธิ์ขับปัสสาวะและระบายท้อง รวมถึงมีการใช้เพื่อรักษาอาการบวมน้ำ

ในทางสมุนไพร ส่วนต่างๆ ของต้นบานเย็นนำไปใช้ในยาขับปัสสาวะ ยาระบาย และรักษาแผล ส่วนรากเชื่อว่ามีสรรพคุณเพิ่มสมรรถนะทางเพศ และออกฤทธิ์ขับปัสสาวะและระบายท้อง รวมถึงมีการใช้เพื่อรักษาอาการบวมน้ำ
* ใบ ใช้ลดอาการอักเสบ น้ำคั้นใบตำละเอียดและต้มแล้วใช้รักษาฝีหนอง
* ใบ ใช้ลดอาการอักเสบ น้ำคั้นใบตำละเอียดและต้มแล้วใช้รักษาฝีหนอง
* เมล็ดของบานเย็นบางพันธุ์ เมื่อบดละเอียดเป็นผงใช้ผสมในเครื่องสำอางและสีย้อม แต่เมล็ดบานเย็นส่วนใหญ่ถือว่ามีพิษ
* เมล็ดของบานเย็นบางพันธุ์ เมื่อบดละเอียดเป็นผงใช้ผสมในเครื่องสำอางและสีย้อม<ref name='pfaf'/> แต่เมล็ดบานเย็นส่วนใหญ่ถือว่ามีพิษ<ref>http://www.bbc.co.uk/dna/h2g2/A774704</ref>
==อ้างอิง==

{{รายการอ้างอิง}}
ข้อมูลภาษาไทย แปลจากหน้าภาษาอังกฤษ [http://en.wikipedia.org/wiki/Mirabilis_jalapa Mirabilis jalapa]
== ดูเพิ่ม==

*Correns, C. Vererbungsversuche mit blass (gelb) grünen und buntblättrigen Sippen bei Mirabilis, Urtica und Lunaria. ZIAV 1, 291–329 (1909)
*Pierce, B. ''Genetics: A Conceptual Approach'', 2nd ed. (New York, Freeman, 2005)
[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
[[หมวดหมู่:พืชมีพิษ]]
{{โครงพืช}}


[[bn:সন্ধ্যামালতী]]
[[de:Wunderblumen]]
[[en:Mirabilis (plant)]]
[[ca:Flor de nit (planta)]]
[[de:Wunderblume]]
[[es:Mirabilis (planta)]]
[[en:Mirabilis jalapa ]]
[[hsb:Dźiwnička]]
[[it:Mirabilis (botanica)]]
[[es:Mirabilis jalapa]]
[[pl:Dziwaczek]]
[[fr:Mirabilis jalapa]]
[[pt:Mirabilis]]
[[ko:분꽃]]
[[hsb:Wšědna dźiwnička]]
[[sv:Underblomssläktet]]
[[id:Bunga pukul empat]]
[[it:Mirabilis jalapa]]
[[ka:გულისაბა]]
[[ht:Zèb katre]]
[[ml:നാലുമണിച്ചെടി]]
[[mr:गुलबक्षी]]
[[my:မဉ္ဇူပန်းပင်]]
[[ja:オシロイバナ]]
[[pl:Dziwaczek Jalapa]]
[[pt:Maravilha (planta)]]
[[si:හෙන්දිරික්කා මල්]]
[[fi:Ihmekukka]]
[[sv:Underblomma]]
[[te:చంద్రకాంత పుష్పం]]
[[tr:Akşamsefası]]
[[vi:Bông phấn]]
[[zh:紫茉莉]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:55, 1 เมษายน 2555

บานเย็น
ไฟล์:Baanyen.jpg
บานเย็น
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Caryophyllales
วงศ์: Nyctaginaceae
สกุล: Mirabilis
สปีชีส์: Mirabilis jalapa

บานเย็น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Mirabilis jalapaL.; ชื่อสามัญ: Four-o’clocks; Marvel of Peru) เป็นไม้ดอกในสกุล Mirabilis ที่นิยมปลูกมากที่สุด มีสีดอกที่หลากหลาย กล่าวกันว่าบานเย็นถูกนำออกมาจากถิ่นกำเนิดในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ในเปรู ช่วงปี ค.ศ. 1540 คำว่า Mirabilis ในภาษาละตินหมายถึง ยอดเยี่ยม, สวยงาม, มหัศจรรย์ ส่วนคำว่า Jalapa เป็นชื่อเมืองแห่งหนึ่งในประเทศเม็กซิโก

ดอกและสีดอก

ความน่าสนใจของบานเย็นคือ เป็นไม้ดอกที่สามารถมีดอกหลายสีอยู่บนต้นเดียวกันพร้อมๆ กันได้ นอกจากนี้ในแต่ละดอกอาจมีหลายสีปนกันอยู่ได้เช่นกัน จุดสนใจอีกประการหนึ่งคือการที่สีดอกจะเปลี่ยนไปเมื่อต้นบานเย็นมีอายุมากขึ้น เช่น บานเย็นพันธุ์ดอกเหลือง สีของดอกอาจค่อยๆ เปลี่ยนเป็นชมพูเข้ม หรือ พันธุ์ดอกขาวอาจจะเปลี่ยนเป็นม่วงอ่อนได้

ดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลาบ่ายแก่ๆ เป็นต้นไป จึงเป็นที่มาของชื่อไทยว่า "บานเย็น" หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "ดอกสี่โมง" (four o'clock flower) เมื่อดอกบานจะมีกลิ่นหอมจัดแบบกลิ่นหอมหวานๆในประเทศจีน เรียกบานเย็นว่า "ดอกสายฝน" (shower flower) หรือ "ดอกหุงข้าว" (rice boiling flower) เพราะดอกบานเย็นจะบานในช่วงเวลานั้น ส่วนในฮ่องกง เรียกว่า "มะลิม่วง" (purple jasmine)

ส่วนของกลีบดอกที่เห็นเป็นสีต่างๆ นั้น แท้จริงแล้วไม่ใช่กลีบดอกแท้ แต่เป็นส่วนกลีบเลี้ยง (calyx) ที่เปลี่ยนรูปไปจากปกติและมีเม็ดสี (pigments) การผสมเกสรเกิดโดยแมลงกลางคืนชนิดที่มีลิ้นยาวซึ่งถูกดึงดูดมาหาดอกบานเย็นโดยกลิ่นหอมที่ปล่อยออกมานั่นเอง

ถิ่นอาศัยและการเพาะปลูก

บานเย็นถูกนำออกมาจากเขตมรสุมของทวีปอเมริกาใต้ แล้วนำไปปลูกอย่างแพร่หลายในเขตอบอุ่นและเขตร้อนอื่นๆ จนกลายเป็นพืชประจำถิ่น ในพื้นที่เขตอบอุ่นที่ค่อนข้างเย็น ต้นบานเย็นจะตายเมื่ออากาศเย็นจนเริ่มมีน้ำแข็ง แต่จะงอกกลับขึ้นใหม่ในฤดูใบไม้ผลิถัดไปจากเหง้าที่ฝังอยู่ใต้ดิน ต้นบานเย็นโตได้ดีที่สุดในแสงแดดจัด ความสูงต้นเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 90 ซม. ผลมีเมล็ดเดี่ยว เมล็ดมีลักษณะกลม ผิวเปลือกเมล็ดเปลี่ยนสีจากเหลืองปนเขียวเป็นสีดำและย่นเมื่อเมล็ดแก่จัด การกระจายเมล็ดเกิดได้เองและอาจแพร่กระจายได้เร็วมากจนกลายเป็นวัชพืชถ้าขาดการควบคุมดูแลที่ดี ผู้ปลูกบางรายแนะนำว่าก่อนปลูกควรแช่เมล็ดก่อน แต่พบว่าไม่จำเป็น

การศึกษาด้านพันธุกรรม

ในช่วงปี ค.ศ.1900 คาร์ล คอร์เรนส (Carl Correns) ใช้ต้นบานเย็นเป็นพืชต้นแบบสำหรับการศึกษาวิจัยเรื่องการถ่ายทอดพันธุกรรมทางไซโตพลาสซึม (cytoplasmic inheritance) โดยใช้ต้นบานเย็นพันธุ์ที่มีใบลายในการพิสูจน์ว่า มีปัจจัยบางอย่างที่อยู่นอกนิวเคลียสเป็นตัวกำหนดลักษณะทางกายภาพของต้นบานเย็น ด้วยกลไกที่ไม่สามารถอธิบายได้โดยทฤษฎีของเมนเดล คอร์เรนสเสนอความคิดว่าลักษณะสีของใบบานเย็นถ่ายทอดสู่รุ่นลูกจากบรรพบุรุษฝ่ายเดียว (uniparental mode of inheritance)

เมื่อทำการผสมเกสรระหว่างต้นดอกสีแดงกับต้นดอกสีขาว จะได้รุ่นลูกที่มีดอกสีชมพู ไม่ใช่สีแดง ซึ่งเป็นลักษณะที่อยู่นอกเหนือกฏยีนเด่นข่มยีนด้อยของเมนเดล (Mendel's Law of Dominance) เพราะในกรณีนี้ยีนที่ให้ดอกสีแดงกับยีนให้ดอกสีขาวมีการแสดงออกเท่ากัน จึงไม่มีลักษณะของยีนใดยีนหนึ่งแสดงออกอย่างเด่นชัดเพียงลักษณะเดียว

การใช้ประโยชน์

  • ดอกบานเย็น ใช้ทำสีผสมอาหารสีแดงเข้ม ซึ่งมักใช้แต่งสีเค้กและเจลลี่[1]
  • ใบ กินสุกได้ แต่ควรกินเมื่อจำเป็นเท่านั้น[1]
  • ส่วนต่างๆ ของต้นบานเย็นนำไปใช้ในยาขับปัสสาวะ ยาระบาย และรักษาแผล ส่วนรากเชื่อว่ามีสรรพคุณเพิ่มสมรรถนะทางเพศ และออกฤทธิ์ขับปัสสาวะและระบายท้อง รวมถึงมีการใช้เพื่อรักษาอาการบวมน้ำ
  • ใบ ใช้ลดอาการอักเสบ น้ำคั้นใบตำละเอียดและต้มแล้วใช้รักษาฝีหนอง
  • เมล็ดของบานเย็นบางพันธุ์ เมื่อบดละเอียดเป็นผงใช้ผสมในเครื่องสำอางและสีย้อม[1] แต่เมล็ดบานเย็นส่วนใหญ่ถือว่ามีพิษ[2]

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

  • Correns, C. Vererbungsversuche mit blass (gelb) grünen und buntblättrigen Sippen bei Mirabilis, Urtica und Lunaria. ZIAV 1, 291–329 (1909)
  • Pierce, B. Genetics: A Conceptual Approach, 2nd ed. (New York, Freeman, 2005)