ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะกอทิกนานาชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Image:Torun SS Johns Mary Magdalene.jpg|thumb|280px |“[[นักบุญแมรี แม็กดาเลน]]และเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์]]
[[ไฟล์:Torun SS Johns Mary Magdalene.jpg|thumb|280px |“[[นักบุญแมรี แม็กดาเลน]]และเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์]]
'''ศิลปะโกธิคนานาชาติ''' หรือ '''ศิลปะกอธิคนานาชาติ''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: '''International Gothic''') เป็นสมัยหนึ่งของ[[ศิลปะโกธิค]]ที่รุ่งเรืองในบริเวณ[[เบอร์กันดี]], [[โบฮีเมีย]], [[ฝรั่งเศส]] และทางตอนเหนือของ[[อิตาลี]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่<ref>[http://books.google.co.uk/books?id=O7YSKD3scdcC&pg=PA22&dq=International+Gothic+Gothic+art+Burgundy,+Bohemia,+France++Italy&as_brr=3&sig=ACfU3U0uIHJQDrAyeEBjyEetb3hzBOJAXg#PPA22,M1 Masterpieces of Western Art: A History of Art in 900 Individual Studies from the Gothic to the Present Day], Ingo F. Walther, Robert Suckale, Manfred Wundram, Taschen, 2002, ISBN 3822818259</ref> จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศส[[หลุยส์ คูราโจด์]] (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref>Thomas, 8</ref>
'''ศิลปะกอทิกนานาชาติ''' ({{lang-en|'''International Gothic'''}}) เป็นสมัยหนึ่งของ[[ศิลปะกอทิก]]ที่รุ่งเรืองในบริเวณ[[เบอร์กันดี]], [[โบฮีเมีย]], [[ฝรั่งเศส]] และทางตอนเหนือของ[[อิตาลี]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่<ref>[http://books.google.co.uk/books?id=O7YSKD3scdcC&pg=PA22&dq=International+Gothic+Gothic+art+Burgundy,+Bohemia,+France++Italy&as_brr=3&sig=ACfU3U0uIHJQDrAyeEBjyEetb3hzBOJAXg#PPA22,M1 Masterpieces of Western Art: A History of Art in 900 Individual Studies from the Gothic to the Present Day], Ingo F. Walther, Robert Suckale, Manfred Wundram, Taschen, 2002, ISBN 3822818259</ref> จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศส[[หลุยส์ คูราโจด์]] (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref>Thomas, 8</ref>


ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่น[[หนังสือวิจิตร]]มักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของ[[สมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ]]กับ [[แอนน์แห่งโบฮีเมีย สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|แอนน์แห่งโบฮีเมีย]]ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ
ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่น[[หนังสือวิจิตร]]มักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของ[[สมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ]]กับ [[แอนน์แห่งโบฮีเมีย สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|แอนน์แห่งโบฮีเมีย]]ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:30, 27 มีนาคม 2555

นักบุญแมรี แม็กดาเลนและเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์

ศิลปะกอทิกนานาชาติ (อังกฤษ: International Gothic) เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะกอทิกที่รุ่งเรืองในบริเวณเบอร์กันดี, โบฮีเมีย, ฝรั่งเศส และทางตอนเหนือของอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่[1] จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศสหลุยส์ คูราโจด์ (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19[2]

ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่นหนังสือวิจิตรมักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษกับ แอนน์แห่งโบฮีเมียก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ ต่อมาการสร้างงานศิลปะก็ไม่จำกัดแต่ชนชั้นเจ้านายหรือชนชั้นปกครองแต่ขยายไปยังพ่อค้าและเจ้านายชั้นรองด้วย ทางตอนเหนือของยุโรป “ศิลปะยุคปลายโกธิค” ยังคงพบในงานศิลปะจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และไม่มีอะไรมาแทนที่ก่อนถึงสมัยยุคเรอเนสซองซ์คลาสสิก การใช้คำนี้ของนักประวัติศาสตร์ศิลปะแต่ละคนอาจจะแตกต่างกันบ้างที่บางคนใช้ในวงที่จำกัดกว่าผู้อื่น[3] Some art historians feel the term is "in many ways ... not very helpful.. since it tends to skate over both differences and details of transmission."[4] “ศิลปะโกธิคนานาชาติ”

อ้างอิง


ดูเพิ่ม