ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับปลาหลังเขียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
'''อันดับปลาหลังเขียว''' ([[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]: Clupeiformes) เป็น[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]ของ[[ปลากระดูกแข็ง]]อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes
'''อันดับปลาหลังเขียว''' ([[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]: Clupeiformes) เป็น[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]ของ[[ปลากระดูกแข็ง]]อันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes


เป็นปลาที่มี[[กระเพาะปลา|ถุงลม]]มีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยัง[[ลำไส้]] [[เส้นข้างลำตัว]]มักขาด แต่มี[[เกล็ดปลา|เกล็ด]]และครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัว[[สีเงิน]] อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกิน[[แพลงก์ตอน]]เป็น[[อาหาร]] โดยผ่าน[[ซี่กรองเหงือก]] แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหาร เช่นกัน
เป็นปลาที่มี[[กระเพาะปลา|ถุงลม]]มีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยัง[[ลำไส้]] [[เส้นข้างลำตัว]]มักขาด แต่มี[[เกล็ดปลา|เกล็ด]]และครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัว[[สีเงิน]] และมีส่วนหลัง[[สีเขียว]] อันเป็นที่มาของชื่อ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกิน[[แพลงก์ตอน]]เป็น[[อาหาร]] โดยผ่าน[[ซี่กรองเหงือก]] แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหาร เช่นกัน


พบทั้งหมด 6 [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] ประมาณ 300 [[species|ชนิด]] ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันใน[[ภาษาไทย]]เรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่[[ภาษาอังกฤษ]]จะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้ง[[น้ำจืด]], [[น้ำกร่อย]] และ[[ทะเล]] เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อ[[มนุษย์]]เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะ[[ปลาเศรษฐกิจ]]และ[[การแปรรูปอาหาร|แปรรูป]]เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น [[ปลากระป๋อง]]หรือ[[น้ำปลา]]<ref>[http://www.fisheries.go.th/cf-kung_krabaen/products.htm การทำน้ำปลาจากปลากะตัก {{th}}]</ref> เป็นต้น<ref name=EoF>{{cite book |editor=Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N.|author= Nelson, Gareth|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|pages= 91–95|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>
พบทั้งหมด 6 [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] ประมาณ 300 [[species|ชนิด]] ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันใน[[ภาษาไทย]]เรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่[[ภาษาอังกฤษ]]จะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้ง[[น้ำจืด]], [[น้ำกร่อย]] และ[[ทะเล]] เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อ[[มนุษย์]]เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะ[[ปลาเศรษฐกิจ]]และ[[การแปรรูปอาหาร|แปรรูป]]เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น [[ปลากระป๋อง]]หรือ[[น้ำปลา]]<ref>[http://www.fisheries.go.th/cf-kung_krabaen/products.htm การทำน้ำปลาจากปลากะตัก {{th}}]</ref> เป็นต้น<ref name=EoF>{{cite book |editor=Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N.|author= Nelson, Gareth|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|pages= 91–95|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:33, 25 กุมภาพันธ์ 2555

อันดับปลาหลังเขียว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ก่อนครีเตเชียส-ปัจจุบัน
ปลาซาร์ดีน (Sardina pilchardus) จัดอยู่ในวงศ์ Clupeidae พบในชายฝั่งและปากแม่น้ำของทวีปยุโรปตอนเหนือ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Clupeiformes
Bleeker, 1959
วงศ์
6 วงศ์ (ดูในเนื้อหา)

อันดับปลาหลังเขียว (อันดับ: Clupeiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes

เป็นปลาที่มีถุงลมมีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยังลำไส้ เส้นข้างลำตัวมักขาด แต่มีเกล็ดและครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัวสีเงิน และมีส่วนหลังสีเขียว อันเป็นที่มาของชื่อ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร โดยผ่านซี่กรองเหงือก แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหาร เช่นกัน

พบทั้งหมด 6 วงศ์ ประมาณ 300 ชนิด ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันในภาษาไทยเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะปลาเศรษฐกิจและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปลากระป๋องหรือน้ำปลา[1] เป็นต้น[2]

โดยคำว่า Clupeiformes นั้นมาจากภาษาละติน "clupea" หมายถึง "ปลาซาร์ดีน" กับคำว่า "forma" หมายถึง "แหลมคม"

วงศ์

อ้างอิง

  1. การทำน้ำปลาจากปลากะตัก (ไทย)
  2. Nelson, Gareth (1998). Paxton, J.R. & Eschmeyer, W.N. (บ.ก.). Encyclopedia of Fishes. San Diego: Academic Press. pp. 91–95. ISBN 0-12-547665-5.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: editors list (ลิงก์)
  3. จาก ITIS.gov (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น