2
การแก้ไข
เวลาที่พระภิกษุออกบิณฑบาต พระภิกษุจะใช้ 2 มือประคองบาตรเอาไว้แล้วเดินในกิริยาสำรวม พระภิกษุจะไม่เอ่ยปากขออาหารจากผู้คน หรือแสดงกิริยาในการขอ โดยส่วนมากแล้วเวลาที่พระภิกษุออกบิณฑบาตคือ ตั่งแต่ช่วงเช้ามืด (ประมาณ 5 นาฬิกา อาจจะเร็วหรือช้ากว่านี้บ้างเล็กน้อยในแต่ละท้องที่) จนถึงก่อน 7 นาฬิกา ซึ่งเป็นเวลาที่พระภิกษุฉันอาหารมื้อเช้า
เมื่อเวลามีคนให้ทาน(ใส่บาตร) พระภิกษุต้องรับทานที่คนให้ทั้งหมด ไม่สามารถที่จะเลือกได้ว่าจะรับหรือไม่รับ หรือบอกกับผู้คนว่าตนต้องการสิ่งนั้นสิ่งนี้ แต่อย่างไรก็ดี
# เนื้อสัตว์ที่ได้มาจากการที่บุคคลคนนั้นตั้งใจที่จะฆ่าสัตว์โดยมีจุดประสงค์หลักคือเพื่อที่จะเอาเนื้อมาถวายพระภิกษุโดยเฉพาะ และพระภิกษุรู้ว่าเนื้อนั้นมาจากการฆ่าเพื่อที่จะนำมาถวายตนโดยเฉพาะ▼
# ผลไม้ที่มีเมล็ด บุคคลที่ตักบาตรไม่สามารถถวายผลไม้ที่มีเมล็ดได้ เพราะถือว่าเมล็ดนั้นยังสามารถที่จะให้กำเนิดชีวิตได้อยู่ ถ้าจะถวายต้องเอาเมล็ดออกก่อน▼
# วัตถุดิบในการทำอาหาร เช่น ข้าวสาร, แป้ง เพราะตามหลักของศาสนานั้นไม่อนุญาตที่จะให้พระภิกษุประกอบอาหาร▼
1. สิ่งที่จะนำมาใส่บาตร เป็นสิ่งของที่เป็นกับปิยะ เช่นควรเป็นอาหาร เพื่อให้พระฉันได้ เช่น ข้าวสุก (คำว่า บาตร แปลว่าข้าวตก) กับข้าว ที่ปรุงสุกแล้ว
ไม่เป็นของต้องห้าม เช่นสารเสพติด สุราเมรัย ศาสตรวุธ ยาพิษ
สิ่งเป็นอาบัติ เช่น เงิน ทอง เพราะถ้ามีผู้ใส่บาตร พระจำเป็นต้องรับ เมื่อรับจะเกิดอาบัติ นิสสัคคีย์ปาจิตตีย์ ลองคิดดูว่า ผู้ใส่เงินในบาตรพระ จะได้บุญหรือได้บาป ที่ทำให้พระอาบัติ)
2. เนื้อสัตว์ที่ต้องห้ามตามหลักศาสนาพุทธ เรียกว่า มังสัง 10 อย่าง (เช่น มนุษย์ ช้าง ม้า สุนัข งู ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี และเสือดาว )
▲
และไม่ห้ามพระภิกษุฉันเนื้อในกรณี 3 ประการ 1.ไม่รู้ว่าเขาฆ่า 2.ไม่เห็นเขาฆ่า 3.ไม่ได้้ยินว่าเขาฆ่าเพื่อเรา
▲
ข้อนี้มาจากพุทธบัญญัติที่ห้ามไม่ให้พระภิกษุทำครัว เพราะการทำครัว จะต้องมีการฆ่า การพรากของสีเขียวหรือภูตคาม (ห้ามปลูกข้าวกินเอง และทำครัวกินเอง ฉะนั้น ห้ามรับบิณฑบาตร ข้าวสาร อาหารแห้งก็มาจากตรงนี้)
▲
<gallery>
ไฟล์:ตักบาตร.jpg|ฆราวาสกำลังใส่บาตรให้พระภิกษุ
|
การแก้ไข