ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สี่สิบเจ็ดโรนิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ar, br, ca, de, es, fi, fr, he, id, it, ja, ms, nl, pl, pt, ro, ru, uk, vi, zh
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[ar:السبعة وأربعون ساموراي]]
[[br:Ar 47 ronin]]
[[ca:47 rōnin]]
[[de:47 Rōnin]]
[[en:Forty-seven Ronin]]
[[en:Forty-seven Ronin]]
[[es:47 rōnin]]
[[fi:47 rōninia]]
[[fr:47 rōnin]]
[[he:ארבעים ושבעה הרונין]]
[[id:Empat puluh tujuh Ronin]]
[[it:Quarantasette Rōnin]]
[[ja:赤穂浪士]]
[[ms:Empat puluh tujuh Ronin]]
[[nl:De zevenenveertig ronin]]
[[pl:Zemsta rōninów z Akō]]
[[pt:47 rōnin]]
[[ro:Cei patruzeci și șapte de ronini]]
[[ru:Месть Ако]]
[[uk:Роніни Ако]]
[[vi:Bốn mươi bảy Ronin]]
[[zh:元祿赤穗事件]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:50, 18 กุมภาพันธ์ 2555

ภาพพิมพ์แสดงการเข้าโจมตีคฤหาสถ์ของคิระ โยะชินะกะ
หลุมศพของ 47 โรนินที่วัดเซนงะกุจิ โตเกียว

การแก้แค้นของสี่สิบเจ็ดโรนิน (ญี่ปุ่น: 四十七士โรมาจิ Shi-jū-shichi-shi) บางครั้งอาจเรียกว่า การแก้แค้นของสี่สิบเจ็ดซามูไร หรือ เหตุการณ์เก็นโระกุ อะโก (ญี่ปุ่น: 元禄赤穂事件โรมาจิGenroku akō jiken) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเอโดะในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 นักประวัติศาสตร์ชาวดัตช์ชื่อ ไอแซก ทิทซิงก์ กล่าวว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในวิถีบูชิโด [1]

เรื่องราวกล่าวถึงกลุ่มนักรบซามูไรจำนวน 47 คนในสังกัดของไดเมียวอะซะโนะ นะงะโนะริ ซึ่งถูกคิระ โยะชินะกะ ข้าหลวงของจังหวัดโคซูเกะ เปิดโปงแผนลอบสังหาร และบังคับให้กระทำเซปปุกุ เมื่อปี ค.ศ. 1701 เมื่อสูญเสียเจ้านายไป ซามูไรทั้ง 47 คนจึงกลายเป็นโรนิน ได้ซุ่มวางแผนเป็นเวลากว่าสองปี จากนั้นจึงบุกเข้าโจมตีคฤหาสถ์ของคิระ สังหารข้าหลวงคิระโดยการตัดศีรษะและนำไปไว้ที่หลุมศพของเจ้านายที่วัดเซนงะกุจิ เพื่อเป็นการกอบกู้ศักดิ์ศรี ภายหลังเหตุการณ์เจ้าหน้าที่บ้านเมืองได้เข้าจับกุมและตัดสินให้โรนินทั้ง 47 กระทำผิดข้อหาฆาตกรรม ให้กระทำเซปปุกุทั้งหมด

เรื่องราวของโรนินสี่สิบเจ็ดคนได้รับการเผยแพร่ผ่านการแสดงละครคาบูกิและละครหุ่นชัก [2] โดยเปลี่ยนชื่อตัวละคร ในชื่อเรื่อง "ชูชินงุระ" (ญี่ปุ่น: 忠臣蔵Chūshingura) เนื่องจากในยุคเก็นโระกุ มีกฎหมายห้ามการวิพากษ์เหตุการณ์การเมืองในขณะนั้น

อ้างอิง

  1. Screech, T. (2006). Secret Memoirs of the Shoguns: Isaac Titsingh and Japan, p. 91.
  2. "Kanadehon". Columbia University.

แหล่งข้อมูลอื่น