ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอังคาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: uk:Мангала
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ดาวอังคาร}}
{{ระวังสับสน|ดาวอังคาร}}
{{กล่องข้อมูล เทวดา
{{กล่องข้อมูล เทวดา
| ไฟล์ภาพ = Mangala.jpg
| ไฟล์ภาพ = Mangala.jpg
| คำอธิบายภาพ =
| คำอธิบายภาพ =
| พระนาม = พระอังคาร
| พระนาม = พระอังคาร
| ภาษาแม่ = เทวนาครี
| เทวนาครี = मंगल
| ชื่อในภาษาแม่ = मंगल หรือ मङ्गल
| กันนาดา =
| จำพวก = เทวนพเคราะห์
| สันสกฤต =
| ปาลี =
| ทมิฬ =
| จำพวก = เทวนพเคราะห์
| เทวฉายา =
| เทวพาหนะ =
| มนต์ =
| อาวุธ =
| พระชายา =
| พระสวามี =
| เทวพาหนะ = แกะตัวผู้
| เทวพาหนะ = แกะตัวผู้
| ดาวพระเคราะห์ = [[ดาวอังคาร]]
| ดาวพระเคราะห์ = [[ดาวอังคาร]]
}}
}}


'''พระอังคาร''' ([[เทวนาครี]]: मंगल, มังคละ) เป็น[[เทวดานพเคราะห์]]องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากมหิงสา ([[ควาย]]) 8 ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีชมพู]]หม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)
'''พระอังคาร''' ([[เทวนาครี]]: मंगल ''มํคล'' หรือ मङ्गल ''มงฺคล'') เป็น[[เทวดานพเคราะห์]]องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากมหิงสา ([[ควาย]]) 8 ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีชมพู]]หม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)


พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางรุนแรงและเร่าร้อน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอังคาร หรือมีพระอังคารสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีอารมณ์มุทะลุ ตึงตัง ชอบใช้กำลัง ใจร้อน ตามนิทานชาติเวร พระอังคารเป็นมิตรกับ[[พระศุกร์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระอาทิตย์]]
พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางรุนแรงและเร่าร้อน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอังคาร หรือมีพระอังคารสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีอารมณ์มุทะลุ ตึงตัง ชอบใช้กำลัง ใจร้อน ตามนิทานชาติเวร พระอังคารเป็นมิตรกับ[[พระศุกร์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระอาทิตย์]]


ในโหราศาสตร์ไทย พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 3 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากมหิงสา 8 ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 8 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ [[ปางไสยาสน์]] และภายหลังมี [[ปางลีลา]] เพิ่มอีกหนึ่งปาง
ในโหราศาสตร์ไทย พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๓ (เลขสามไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากมหิงสา 8 ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 8 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ [[ปางไสยาสน์]] และภายหลังมี [[ปางลีลา]] เพิ่มอีกหนึ่งปาง


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
* อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
* เทพย์ สาริกบุตร และคณะ.พรหมชาติ ฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
* เทพย์ สาริกบุตร และคณะ.พรหมชาติ ฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.



{{เทวดา}}
{{เทวดา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:10, 10 กุมภาพันธ์ 2555

พระอังคาร
เทวนาครี: मंगल หรือ मङ्गल
Mangala.jpg
จำพวกเทวนพเคราะห์
สัตว์พาหนะแกะตัวผู้
ดาวพระเคราะห์ดาวอังคาร

พระอังคาร (เทวนาครี: मंगल มํคล หรือ मङ्गल มงฺคล) เป็นเทวดานพเคราะห์องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากมหิงสา (ควาย) 8 ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้าสีชมพูหม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)

พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางรุนแรงและเร่าร้อน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอังคาร หรือมีพระอังคารสถิตร่วมกับลัคนา มักมีอารมณ์มุทะลุ ตึงตัง ชอบใช้กำลัง ใจร้อน ตามนิทานชาติเวร พระอังคารเป็นมิตรกับพระศุกร์ และเป็นศัตรูกับพระอาทิตย์

ในโหราศาสตร์ไทย พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๓ (เลขสามไทย) และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากมหิงสา 8 ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 8 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ ปางไสยาสน์ และภายหลังมี ปางลีลา เพิ่มอีกหนึ่งปาง

อ้างอิง

  • อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
  • เทพย์ สาริกบุตร และคณะ.พรหมชาติ ฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.