ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอลุส-ดูว์ร็อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: nl:Emile Auguste Carolus-Duran
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ศิลปิน
{{กล่องข้อมูล ศิลปิน
| สี = #191970
| สี = #191970
| ชื่อ = ชาร์ลส์ โอกุสต์ คาโรลุส-ดูรองด์<br>Charles Auguste Émile Durand
| ชื่อ = ชาร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง<br>Charles Auguste Émile Durand
| ภาพ = Portrait_of_Carolus-Duran.jpg
| ภาพ = Portrait_of_Carolus-Duran.jpg
| คำบรรยายภาพ = [[ภาพเหมือน]]โดย[[จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์]] ค.ศ. 1879
| คำบรรยายภาพ = [[ภาพเหมือน]]โดย[[จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์]] ค.ศ. 1879
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}


'''ชาร์ลส์ โอกุสต์ คาโรลุส-ดูรองด์''' ({{lang-en|Charles Auguste Émile Durand}}) ([[4 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1837]] - [[17 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1917]]) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ คาโรลุส-ดูรองด์ เป็น[[จิตรกร]]และอาจารย์สอนจิตรกรรมชาว[[ฝรั่งเศส]]ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียน[[ภาพเหมือน]] คาโรลุส-ดูรองด์มีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของ[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม]]
'''ชาร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง''' ({{lang-fr|Charles Auguste Émile Durand}}) หรือ '''การอลุส-ดูว์ร็อง''' ({{lang|fr|Carolus-Duran}}, {{IPA|/kaʁɔlys dyʁɑ̃/}}; [[4 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1837]] - [[17 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1917]]) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ การอลุส-ดูว์ร็อง เป็น[[จิตรกร]]และอาจารย์สอนจิตรกรรมชาว[[ฝรั่งเศส]]ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียน[[ภาพเหมือน]] การอลุส-ดูว์ร็องมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของ[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม]]


==ประวัติ==
==ประวัติ==
คาโรลุส-ดูรองด์เกิดที่เมือง[[ลีลล์]]และศึกษาศิลปะที่สถาบันลีลล์และต่อมาที่[[Académie des Beaux-Arts|สถาบันวิจิตรศิลป์]]ในปารีส ในปี ค.ศ. 1861 คาโรลุส-ดูรองด์เดินทางไปยัง[[อิตาลี]] และ [[สเปน]]เพื่อศึกษาต่อโดยเฉพาะการศึกษาภาพเขียนโดย[[เดียโก เบลัซเกซ]] ภาพเขียนอันเป็นนาฏกรรมชื่อ “ฆาตกรรม” และ “การลอบสังหาร” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1866 เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่ประสบความสำเร็จที่ปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์ลิลล์
การอลุส-ดูว์ร็องเกิดที่เมือง[[ลีลล์]]และศึกษาศิลปะที่สถาบันลีลล์และต่อมาที่[[Académie des Beaux-Arts|สถาบันวิจิตรศิลป์]]ในปารีส ในปี ค.ศ. 1861 การอลุส-ดูว์ร็องเดินทางไปยัง[[อิตาลี]] และ [[สเปน]]เพื่อศึกษาต่อโดยเฉพาะการศึกษาภาพเขียนโดย[[เดียโก เบลัซเกซ]] ภาพเขียนอันเป็นนาฏกรรมชื่อ “ฆาตกรรม” และ “การลอบสังหาร” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1866 เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่ประสบความสำเร็จที่ปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์ลิลล์


คาโรลุส-ดูรองด์เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากการเขียนภาพเหมือน และเป็นจิตรกรที่เป็นเจ้าของห้องภาพที่สำคัญแห่งหนึ่งของปารีส เป็นอาจารย์ของศิลปินหลายคนผู้มามีชื่อเสียงในรุ่นต่อมารวมทั้ง[[จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์]] ภาพเขียน “สตรีกับถุงมือ” (ค.ศ. 1869) เป็นภาพเขียนของภรรยา
การอลุส-ดูว์ร็องเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากการเขียนภาพเหมือน และเป็นจิตรกรที่เป็นเจ้าของห้องภาพที่สำคัญแห่งหนึ่งของปารีส เป็นอาจารย์ของศิลปินหลายคนผู้มามีชื่อเสียงในรุ่นต่อมารวมทั้ง[[จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์]] ภาพเขียน “สตรีกับถุงมือ” (ค.ศ. 1869) เป็นภาพเขียนของภรรยา


ในปี ค.ศ. 1889 คาโรลุส-ดูรองด์ก็ได้รับ[[เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลชียงดอนเนอร์]]. ในปี ค.ศ. 1890 คาโรลุส-ดูรองด์ก็ร่วมในการก่อตั้ง[[Société Nationale des Beaux Arts|สมาคมวิจิตรศิลป์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศส]] (Société Nationale des Beaux Arts) และในปี ค.ศ. 1904 คาโรลุส-ดูรองด์ก็ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์ ในปีต่อมาก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของ[[French Academy in Rome|สถาบันฝรั่งเศสแห่งโรม]]
ในปี ค.ศ. 1889 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้รับ[[เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลชียงดอนเนอร์]]. ในปี ค.ศ. 1890 การอลุส-ดูว์ร็องก็ร่วมในการก่อตั้ง[[Société Nationale des Beaux Arts|สมาคมวิจิตรศิลป์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศส]] (Société Nationale des Beaux Arts) และในปี ค.ศ. 1904 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์ ในปีต่อมาก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของ[[French Academy in Rome|สถาบันฝรั่งเศสแห่งโรม]]


==ระเบียงภาพ==
==ระเบียงภาพ==
บรรทัด 53: บรรทัด 53:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|Carolus-Duran|อีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูรองด์}}
{{Commonscat-inline|Carolus-Duran|การอลุส-ดูว์ร็อง}}
* [http://www.insecula.com/us/contact/A011739.html Paintings of Carolus-Duran on Insecula]
* [http://www.insecula.com/us/contact/A011739.html Paintings of Carolus-Duran on Insecula]
* {{gutenberg author| id=Carolus+Duran | name=Carolus-Duran}}
* {{gutenberg author| id=Carolus+Duran | name=Carolus-Duran}}


{{จิตรกรตะวันตก}}
{{จิตรกรตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|อีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูรองด์}}
{{เรียงลำดับ|อีมิล โอกุสต์ การอลุส-ดูว์ร็อง}}
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:40, 7 กุมภาพันธ์ 2555

การอลุส-ดูว์ร็อง

ชาร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง (ฝรั่งเศส: Charles Auguste Émile Durand) หรือ การอลุส-ดูว์ร็อง (Carolus-Duran, /kaʁɔlys dyʁɑ̃/; 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1837 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ การอลุส-ดูว์ร็อง เป็นจิตรกรและอาจารย์สอนจิตรกรรมชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน การอลุส-ดูว์ร็องมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม

ประวัติ

การอลุส-ดูว์ร็องเกิดที่เมืองลีลล์และศึกษาศิลปะที่สถาบันลีลล์และต่อมาที่สถาบันวิจิตรศิลป์ในปารีส ในปี ค.ศ. 1861 การอลุส-ดูว์ร็องเดินทางไปยังอิตาลี และ สเปนเพื่อศึกษาต่อโดยเฉพาะการศึกษาภาพเขียนโดยเดียโก เบลัซเกซ ภาพเขียนอันเป็นนาฏกรรมชื่อ “ฆาตกรรม” และ “การลอบสังหาร” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1866 เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่ประสบความสำเร็จที่ปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์ลิลล์

การอลุส-ดูว์ร็องเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากการเขียนภาพเหมือน และเป็นจิตรกรที่เป็นเจ้าของห้องภาพที่สำคัญแห่งหนึ่งของปารีส เป็นอาจารย์ของศิลปินหลายคนผู้มามีชื่อเสียงในรุ่นต่อมารวมทั้งจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ ภาพเขียน “สตรีกับถุงมือ” (ค.ศ. 1869) เป็นภาพเขียนของภรรยา

ในปี ค.ศ. 1889 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้รับเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลชียงดอนเนอร์. ในปี ค.ศ. 1890 การอลุส-ดูว์ร็องก็ร่วมในการก่อตั้งสมาคมวิจิตรศิลป์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศส (Société Nationale des Beaux Arts) และในปี ค.ศ. 1904 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์ ในปีต่อมาก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของสถาบันฝรั่งเศสแห่งโรม

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  • Public Domain บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การอลุส-ดูว์ร็อง