ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pcomsci (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pcomsci (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{ชื่ออังกฤษ}}
{{ชื่ออังกฤษ}}
'''มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer : MUX)''' หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาท์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป
'''มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer : MUX)''' หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาท์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป


[[ภาพ:Digital1.jpg|300px|left|รูปบล๊อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์]]
[[ภาพ:Digital1.jpg|300px|left|รูปบล๊อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์]]
<br />





:
:
จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D<small>0</small> ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S<small>0</small> ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S<small>0</small> ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D<small>0</small> ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (2<sup>2</sup> = 4) ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 8 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 3 (2<sup>3</sup> = 8) เป็นต้น
จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D<small>0</small> ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S<small>0</small> ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S<small>0</small> ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D<small>0</small> ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (2<sup>2</sup> = 4) ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 8 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 3 (2<sup>3</sup> = 8) เป็นต้น
<br /><br /><br /><br />

:

ซึ่งวิธีการรวมข้อมูลจากหลายๆ จุด แล้วส่งผ่านไปตามสายส่งเพียงสายเดียวนั้น เรียกว่า '''multiplex''' ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 รูปแบบคือ
<br />
:
'''1) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time Division Multiplexer หรือ TDM)''' เป็นวิธีที่เพิ่งจะได้รับการพัฒนาขึ้นมาได้ไม่นานนักการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาจะใช้เส้นทางเพียงเส้นทางเดียวและคลื่นพาห์ความถี่เดียวเท่านั้นแต่ ผู้ใช้แต่ละคนนั้นจะได้รับการจัดสรรเวลาในการเข้าใช้ช่องสัญญาณที่ต้องการนั้นเพื่อส่งข้อมูลไปยังปลายทางที่ตนต้องการ


--[[ผู้ใช้:Pcomsci|tsutuke]] 05:25, 25 มกราคม 2007 (UTC)
--[[ผู้ใช้:Pcomsci|tsutuke]] 05:25, 25 มกราคม 2007 (UTC)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:04, 26 มกราคม 2550

มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer : MUX) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาท์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป

รูปบล๊อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์
รูปบล๊อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์


จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D0 ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S0 ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S0 ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D0 ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (22 = 4) ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 8 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 3 (23 = 8) เป็นต้น



ซึ่งวิธีการรวมข้อมูลจากหลายๆ จุด แล้วส่งผ่านไปตามสายส่งเพียงสายเดียวนั้น เรียกว่า multiplex ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 รูปแบบคือ

1) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time Division Multiplexer หรือ TDM) เป็นวิธีที่เพิ่งจะได้รับการพัฒนาขึ้นมาได้ไม่นานนักการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาจะใช้เส้นทางเพียงเส้นทางเดียวและคลื่นพาห์ความถี่เดียวเท่านั้นแต่ ผู้ใช้แต่ละคนนั้นจะได้รับการจัดสรรเวลาในการเข้าใช้ช่องสัญญาณที่ต้องการนั้นเพื่อส่งข้อมูลไปยังปลายทางที่ตนต้องการ

--tsutuke 05:25, 25 มกราคม 2007 (UTC)